Human Relation เรื่อง พื้นฐานทางสังคม

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
Human Relation เรื่อง พื้นฐานทางสังคม by Mind Map: Human Relation   เรื่อง พื้นฐานทางสังคม

1. วัฒนธรรม

1.1. ความหมายของวัฒนธรรม

1.2. ประเภทของวัฒนธรรม

1.2.1. วัฒนธรรมทางวัตถุ

1.2.2. วัฒนธรรมที่ไมใช่วัตถุ

1.2.3. คติธรรม

1.2.4. เนติธรรม

1.2.5. สหธรรม

1.2.6. วัตถุธรรม

1.3. ลักษณะของวัฒนธรรม

1.3.1. เป็นสิ่งที่ได้มาโดยการเรียนรู้

1.3.2. เป็นมรดกทางสังคม

1.3.3. เป็นวิถีชีวิตหรือแบบของการดำรงชีวิต

1.3.4. เป็นสิ่งไม่คงที่

1.4. ลักษณะของวัฒนธรรมไทย

1.4.1. มีศาสนาพุทธเป็นศาสนาประจำชาติ

1.4.2. มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข

1.4.3. อักษรและภาษาไทย

1.4.4. ประเพณีไทย

1.4.5. วัฒนธรรมเกี่ยวข้องกับการดำเนินชีวิต

1.4.6. ศิลปกรรมของไทย

1.4.7. จรรยามารยาทและจิตใจ

1.4.8. การพักผ่อนหย่อนใจ

1.5. อิทธิพลของวัฒนธรรมที่มีต่อสังคม

1.5.1. กำหนดรูปแบบสถาบันครอบครัว

1.5.2. กำหนดแบบแผนความประพฤติ

1.5.3. ควบคุมสังคม

1.5.4. สร้างความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในสังคม

1.5.5. กำหนดรูปแบบของที่อยู่อาศัย

1.5.6. กำหนดชนิดของอาหารที่รับประทาน

1.5.7. เป็นเครื่องแสดงเอกลักษณ์ของชาติ

1.6. ปัญหาทางวัฒนธรรม

1.6.1. ความล้าหลังทางวัฒนธรรม

1.6.2. การตื่นตระหนกทางวัฒนธรรม

1.6.3. การมีอคติต่อวัฒนธรรมของสังคมอื่น

1.6.4. ช่องว่างทางวัฒนธรรม

2. การจัดระเบียบทางสังคม

2.1. บรรทัดฐาน

2.1.1. ประเภทของบรรทัดฐาน

2.1.1.1. วิถีประชา

2.1.1.2. จารีต

2.1.1.3. กฎหมาย

2.1.1.4. New node

2.1.2. บรรทัดฐานประเภทอื่นๆ

2.1.2.1. สมัยนิยม

2.1.2.2. ความนิยมชั่วครู่

2.1.2.3. ความคลั่งไคล้

2.1.2.4. พิธีการ

2.1.2.5. พิธีกรรม

2.1.3. บรรทัดฐานกับการควบคุมทางสังคม

2.2. สถานภาพ

2.2.1. ประเภทของสถานภาพ

2.2.1.1. สถานภาพที่ได้มาโดยกำเนิดหรือสถานภาพที่ติดตัวมา

2.2.1.2. สถานภาพที่ได้มาโดยความสามารถของบุคคล

2.2.1.3. สถานภาพที่ได้มาโดยความสามารถของบุคคล

2.2.2. ลักษณะทั่วไปของสถานภาพ

2.2.2.1. แต่ละบุคคลมีสถานภาพได้หลายสถานภาพ

2.2.2.2. แต่ละบุคคลมีสถานภาพหลัก

2.2.2.3. สถานภาพมีระดับสูงต่ำ

2.2.2.4. สถานภาพบางอย่างขัดแย้งกันได้

2.2.2.5. สถานภาพอาจแสดงได้ด้วยสัญลักษณ์

2.2.3. ลักษณะทั่วไปของสถานภาพ

2.2.3.1. แต่ละบุคคลมีสถานภาพได้หลายสถานภาพ

2.3. บทบาท

2.3.1. ลักษณะทั่วไปของบทบาท

2.3.1.1. บทบาทหลายบทบาทจะอยู่ในบุคคลเดียวกัน

2.3.1.2. บทบาทจะเปลี่ยนแปลงตามสภาวะของสังคม

2.3.1.3. บทบาทอาจขัดแย้งกันได้

2.3.1.4. บทบาทจะเปลี่ยนแปลงตามสภาวะของสังคม

2.3.2. ปัญหาเกี่ยวกับบทบาท

3. ค่านิยม

3.1. ชนิดของค่านิยม

3.1.1. ค่านิยมทางวัตถุ

3.1.2. ค่านิยมทางสังคม

3.1.3. ค่านิยมทางความจริง

3.1.4. ค่านิยมทางจริยธรรม

3.1.5. ค่านิยมทางสุนทรียภาพ

3.1.6. ค่านิยมทางศาสนา

3.2. ค่านิยมที่ควรยึดถือปฏิบัติ

3.2.1. การพึ่งตนเอง ขยันและมีความรับผิดชอบ

3.2.2. การประหยัดและการออม

3.2.3. การมีระเบียบวินัยและการเคารพกฎหมาย

3.2.4. การปฏิบัติตามคุณธรรมของศาสนา

3.2.5. ความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์

4. หน้าที่ของสังคม

4.1. การผลิต การกระจายสินค้า และบริการ

4.2. การผลิตสมาชิก

4.3. การสร้างและรักษาระเบียบ

4.4. การสร้างความมั่นคงทางจิตใจของสมาชิก

4.5. ให้การศึกษาและถ่ายทอดวัฒนธรรม

5. ประเภทของสังคม

5.1. เฟอร์ดินันดิ์

5.1.1. สังคมแบบปฐมภูมิ

5.1.2. สังคมแบบทุติยภูมิ

5.2. เลนสกี และเลนสกี

5.2.1. สังคมล่าสัตว์และเก็บอาหาร

5.2.2. สังคมเลี้ยงสัตว์

5.2.3. สังคมพืชสวน

5.2.4. สังคมกสิกรรม

5.2.5. สังคมอุตสาหกรรม

6. ความหมายของสังคม