HUMAN RELATIONS บทที่ 10 ความขัดแย้ง

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
HUMAN RELATIONS บทที่ 10 ความขัดแย้ง by Mind Map: HUMAN RELATIONS บทที่ 10 ความขัดแย้ง

1. พฤติกรรมความขัดแย้งกับผลของความขัดแย้ง

1.1. ความขัดแย้งเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นได้เสมอ และจะเป็นประโยชน์ต่อองค์การอย่างยิ่ง กพฤติกรรมความขัดแย้งนั้นอยู่ในระดับที่เหมาะสม ไม่มากหรือรุนแรงจนเกิดไป เพราะถ้าอยู่ในระดับที่เหมาะสมแล้วจะเป็นผลให้เกิดความรอบคอบ ความมีเหตุผล และความคิดสร้างสรรค์ใหม่ๆในการทำงาน ในทำนองกลับกันความขัดแย้งมีในระดับต่ำ จะทำให้ขาดความริเริ่มใหม่ๆในการทำงาน

2. ข้อดีและข้อเสียของความขัดแย้ง

2.1. ข้อดี

2.1.1. ทำให้เกิดความคิดที่สาม

2.1.2. เป็นการกระตุ้นให้มนุษย์แสวงหาสิ่งใหม่

2.1.3. เป็นกระจกเงาช่วยสะท้อนความคิด การกระทำ และความรู้สึกของบุคคล

2.1.4. ทำให้เกิดเอกลักษณ์ของกลุ่มหรือบุคคล

2.1.5. ช่วยเพิ่มการมีส่วนร่วมและความสนใจต่อปัญหาของทีมงาน

2.1.6. ลดภาวการณ์คล้อยตามกันภายในทีมงานให้น้อยลง

2.1.7. ช่วยให้บุคคลได้มีโอกาสแบ่งปันความรู้สึกอึดอัดคับข้องใจ

2.2. ข้อเสีย

2.2.1. สร้างความแตกแยกในหมู่คณะหรือในหน่วยงาน

2.2.2. ทำให้องค์การขาดประสิทธิภาพ

2.2.3. ความเป็นมิตรลดลง

2.2.4. ขาดบรรยากาศของความเชื่อถือไว้วางใจ

2.2.5. มีการต่อสู้ถกเถียงกัน

2.2.6. เป็นอุปสรรคต่อการตัดสินใจและการแก้ปัญหา

2.2.7. ขาดความคิดริเริ่ม

2.2.8. ทำลายขวัญและกำลังใจของสมาชิก

3. การบริหารความขัดแย้ง

3.1. การกระตุ้นความขัดแย้ง เป็นการสนับสนุนทำให้เกิดความขัดแย้งที่สร้างสรรค์

3.2. การลดความขัดแย้ง

3.2.1. การเพิกเฉย

3.2.2. การกลบเกลื่อน

3.2.3. การยอมให้

3.2.4. การสร้างกันชน

3.2.5. การหลีกเลี่ยง

3.2.6. การปิดบัง

3.2.7. การชักจูง

3.3. การขจัดความขัดแย้ง

3.3.1. รูปแบบที่ 1 แบชนะ-แพ้

3.3.1.1. การแข่งขัน

3.3.1.2. การใช้อำนาจบังคับ

3.3.2. รูปแบบที่ 2 แบบแพ้-แพ้

3.3.2.1. การประนีประนอม

3.3.3. รูปแบบที่ 3 แบบชนะ-ชนะ

3.3.3.1. การเผชิญหน้าเพื่อแก้ปปัญหา

4. ทักษะที่จำเป็นในการแก้ปัญหาความขัดแย้ง

4.1. ความสามารถในการยอมรับความคิดเห็นและยอมรับความรู้สึกของผู้อื่น ที่มีความคิดเห็นต่างไปจากเรา

4.2. ความสามารถในการเผชิญหน้ากับผู้อื่น แม้จะไม่เห็นด้วยกับความคิดของเขา

4.3. ความสามารถในการมองภาพรวมของความขัดแย้ง

4.4. ความสามารถในการวิเคราะห์ประเด็น

4.5. ความสามารถในการควบคุมอารมณ์และเป็นตัวของตัวเอง

4.6. ความสามารถในการตอบสนองความขัดแย้งเชิงสร้างสรรค์

4.7. ความสามารถในการใช้ยุทธวิธีต่างๆ

4.8. ความสามารถในการพัฒนาความสัมพันธ์ที่ทำให้คู่กรณีเชื่อถือไว้วางใจได้

4.9. ความสามารถในการกลาตัดสินใจ และยืนยันการตัดสินใจนั้น

4.10. ความสามารถในการเจรจาที่ทำให้คู่กรณีตกลงกันด้วยความพอใจ

5. New node

6. New node

7. ความหมายของความขัดแย้ง

7.1. ความขัดแย้ง หมายถึงสถานการณ์ที่ทำให้บุคคลหรือกลุ่มบุคล มีความกระวนกระวายใจ อยู่ในภาวะไม่สามารถตัดสินใจหรือตกลง หาข้อยุติอันเป็นที่พอใจของตนเองหรือของทั้งสองฝ่ายได้ ซึ่งเป็นผลมาจากความไม่สมหวังต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง

8. แนวคิดเกี่ยวกับความขัดแย้ง

8.1. แนวคิดดั้งเดิม

8.1.1. ความขัดแย้งโดยทั่วไปแล้วเป็นสิ่งไม่ดีและควรกำจัด

8.1.2. ความขัดแย้งเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงได้

8.1.3. ความขัดแย้ง เป็นผลที่เกิดจากความผิดพลาดของการสื่อความหมาย

8.1.4. สภาพแวดล้อมมีบทบาทสำคัญในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม

8.1.5. มนุษย์เราโดยเนื้อแท้แล้วเป็นคนดี จึงสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้โดยไม่มีความขัดแย้ง

8.2. แนวคิดสมัยใหม่

8.2.1. ความขัดแย้งเป็นสิ่งที่ดีและควรกระตุ้นให้มี แต่จะต้องควบคุมให้อยู่ภายในขอบเขตที่เหมาะสม

8.2.2. ความขัดแย้งเป็นสิ่งที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้

8.2.3. ความขัดแย้ง เกิดจากการต่อสู้เพื่อให้ได้มาซึ่งผลตอบแทนอันจำกัด

8.2.4. สิ่งที่มีบทบาทสำคัญต่อพฤติกรรมมนุษย์มีหลายอย่าง

8.2.5. มนุษย์เราจะถูกผลักดันให้แสดงพฤติกรรมต่างๆด้วยสัญชาตญาณของความก้าวร้าว

9. สาเหตุของการเกิดความขัดแย้ง

9.1. ความขัดแย้งด้านความคิดเห็น

9.2. ความขัดแย้งในผลประโยชน์

10. ชนิดของความขัดแย้ง

10.1. ความขัดแย้งภายในตนเอง

10.1.1. สามารถบรรลุเป้าหมายได้ แต่มีวิธีการมากกว่าหนึ่งวิธี

10.1.2. มีเป้าหมายสองอย่างที่พอใจเท่าๆกัน แต่ต้องเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง

10.1.3. สามารถบรรลุเป้าหมายได้ แต่เป้าหมายนั้นมีทั้งชอบและไม่ชอบ

10.1.4. มีเป้าหมายสองอย่างที่ไม่พอใจเท่าๆกันแต่ต้องเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง

10.1.5. มีเป้าหมายสองอย่างแต่ละอย่างมีทั้งที่พอใจและไม่พอใจ ต้องเลือกเอาอย่างใดอย่างหนึ่ง

10.2. ความขัดแย้งระหว่างบุคคล

10.2.1. Zero-Sum ความขัดแย้งประเภทนี้เกิดจากการแข่งขันกัน ทำให้มีผู้แพ้และผู้ชนะเกิดขึ้น หากฝ่ายชนะได้เท่าไรเมื่อรวมกับฝ่ายแพ้ที่เสียไป จะเท่ากับศูนย์

10.2.2. Non-Zero-Sum Conflict ความขัดแย้งประเภทนี้มีลักษณะสำคัญสองประการคือ ประการแรก เมื่อฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งชนะเท่าใดไม่ได้หมายความว่าอีกฝ่ายหนึ่งต้องเสียเท่านั้น นั่นคือผลรวมของผู้แพ้กับผู้ชนะไม่กับศูนย์ ประการที่สอง มีรูปแบบการร่วมมือและการแข่งขันเข้ามาเกี่ยวข้องเพื่อให้ตนเอง ได้รับผลประโยชน์มากที่สุด

10.3. ความขัดแย้งภายในกลุ่ม

10.3.1. ความขัดแย้งในประเด็น

10.3.2. ความขัดแย้งในอำนาจ

10.3.3. ความขัดแย้งในบทบาท

10.4. ความขัดแย่งระหว่างกลุ่ม

10.4.1. ความขัดแย้งในหน้าที่

10.4.2. ความขัดแย้งระหว่างระดับชั้น

10.4.3. ความขัดแย้งระหว่างสายบังคับบัญชากับสายอำนวยการ

10.5. ความขัดแย้งระหว่างบุคลากรกับองค์การ

10.6. ความขัดแย้งระหว่างองค์การกับองค์การ

11. กระบวนการของความขัดแย้ง

11.1. ระยะที่ 1 เงื่อนไขที่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง

11.2. ระยะที่ 2 การรับรู้เกี่ยวกับความขัดแย้ง

11.3. ระยะที่ 3 ความรู้สึกขัดแย้ง

11.4. ระยะที่ 4 การแสดงพฤติกรรม

11.5. ระยะที่ 5 การขจัดความขัดแย้งหรือเก็บกดไว้

11.6. ระยะที่ 6 ผลที่เกิดตามมา