อสม ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (๐ ถึง ๕ ปี)

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
อสม ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (๐ ถึง ๕ ปี) by Mind Map: อสม ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (๐ ถึง ๕ ปี)

1. บทบาท / หน้าที่

1.1. การเฝ้าระวัง (จุดเน้นหนักที่ต้องให้ความสำคัญ ซึ่งมีความเสี่ยง ต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัย(ไม่ต้องมากแต่เอาชัดๆ) และที่ต้องหมั่นสังเกต

1.1.1. หญิงวัยเจริญพันธุ์ ก่อนสมรส

1.1.2. หญิงระหว่างตั้งครรภ์

1.1.3. ก่อนคลอด

1.1.4. หลังคลอด

1.1.5. เด็กแรกคลอด ถึง อายุ ๕ ปี

1.2. การแนะนำ

1.2.1. เทคนิด

1.2.2. ทักษะที่จำเป็น

1.2.3. บุคลิกภาพ

1.3. การส่งต่อ

1.3.1. ส่งให้ใคร

1.3.2. ส่งไปที่ไหน

1.3.2.1. ต้องมีความรู้ความสามารถที่จะประเมินความรุนแรง / เร่งด่วน ได้

1.3.2.2. ต้องรู้ความสามารถของสถานบริการแต่ละระดับ

1.3.3. ส่งไปอย่างไร (ต้องมีแบบฟอร์มอะไร หรือไม่ต้องมี / อย่างไร)

1.3.4. การเฝ้าระวังและดูแลต่อเนื่องในชุมชน (หลังจากส่งกลับจากสถานบริการ)

1.3.4.1. ต้องดูแล สังเกต อะไรบ้าง / อย่างไร / ระยะเวลาและช่วงความถี่

2. คุณสมบัติ

2.1. อายุ

2.2. สถานภาพสมรส

2.3. ประสบการณ์

2.4. บุคลิกภาพ/ทัศนคติต่อเด็ก

2.5. อื่นๆ

3. การพัฒนาศักยภาพ

3.1. โดยใคร/อย่างไร ?

3.1.1. เนื้อหาสาระ (ง่ายต่อการเรียนรู้ และนำไปถ่ายทอดต่อกลุ่มเป้าหมาย

3.1.2. กระบวนการถ่ายทอดความรู้และทักษะ

3.1.2.1. อบรม (กี่วัน/ก่ีชั่วโมง/แบบต่อเนื่อง)

3.1.2.2. ฝึกปฏิบัติ (ที่ไหน / กับใคร)

3.1.2.3. ศึกษาดูงาน (จัดกระบวนการอย่างไร ?)

3.1.2.4. แบบผสมผสาน ?

3.1.2.5. การทดสอบ (ก่อน / หลัง และ ต่อเนื่อง (ระยะห่าง / ความถี่) ) เพื่อสร้างมาตรฐาน ความชำนาญ และความน่าเชื่อถือ

3.1.2.6. จำนวน อสม ที่ต้องการ เช่น ต่อหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ หรือ ต่อจำนวนหญิงตั้งครรภ์

3.1.3. โดย จนท.ที่ รพ.สต / รพช.

3.1.3.1. สร้างครู ก.แก่ อสม.ที่มีความพร้อมด้านศักยภาพสูง

3.1.3.1.1. อสม.ครู ก. ถ่ายทอดสู่ อสม.ในชุมชน

3.1.3.2. ติดตาม สนับสนุน ประเมินผลการดำเนินงาน สรุปเป็นบทเรียนเพื่อใช้พัฒนาต่อยอด

3.1.4. สนับสนุน คู่มือการปฏิบัติงาน แก่ อสม.

4. การประสานความร่วมมือและการบูรณาการ

4.1. ใครเป็นเจ้าภาพหลัก

4.1.1. วิธีการ

4.1.1.1. ใช้การแต่งตั้งคณะทำงาน

4.1.1.2. ตามบทบาท / หน้าที่

4.1.1.3. ตามโครงสร้าง