ตามรอยพระยุคลบาท

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ตามรอยพระยุคลบาท by Mind Map: ตามรอยพระยุคลบาท

1. หลักการทรงงาน

1.1. หลักการทรงงานที่สามารถรวบรวมได้

1.1.1. ศึกษาข้อมูลอย่างเป็นระบบ

1.1.2. ระเบิดจากข้างใน

1.1.3. แก้ปัญหาที่จุดเล็ก

1.1.4. ทำตามลำดับขั้น

1.1.5. ภูมิสังคม

1.1.6. องค์รวม

1.1.7. ไม่ติดตำรา

1.1.8. ทำให้ง่าย

1.1.9. การมีส่วนร่วม

1.1.10. ประโยชน์ส่วนรวม

1.1.11. บริการจุดเดียว

1.1.12. ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ

1.1.13. ใช้อธรรมปราบอธรรม

1.1.14. ปลูกป่าในใจคน

1.1.15. ขาดทุนคือกำไร

1.1.16. การพึ่งตนเอง

1.1.17. พออยู่พอกิน

1.1.18. เศรษฐกิจพอเพียง

1.1.19. ความซื่อสัตย์

1.1.20. ทำงานอย่างมีความสุข

1.1.21. ความเพียร

1.1.22. รู้ รัก สามัคคี

2. การพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์

2.1. ด้านสาธารณสุขและการแพทย์

2.1.1. หน่วยแพทย์เคลื่อน

2.1.1.1. เรือเวชพาหน์

2.1.1.2. การให้การบำบัดรักษาโดยการตรวจจากแพทย์พระราชทาน

2.1.1.3. การอบรมหมอหมู่บ้านตามพระราชดำริ

2.2. ด้านการศึกษา

2.2.1. การศึกษาในระบบ

2.2.1.1. การตั้งโรงเรียน

2.2.1.1.1. โรงเรียนจิตรลดา

2.2.1.1.2. โรงเรียนราชวินิต

2.2.1.1.3. โรงเรียนสงค์เคราะห์เด็กยากจนและเด็กกำพร้า

2.2.1.1.4. โรงเรียน ตชด.

2.2.1.2. มูลนิธิราชประชาสมาลัยในพระบรมราชูปถัมภ์

2.2.1.3. ทุนการศึกษาพระราชทาน

2.2.1.4. มูลนิธิช่วยเหลือครูอาวุโส

2.2.1.5. พระราชทานปริญญาบัตร

2.2.2. ด้านการศึกษานอกระบบ

2.2.2.1. โครงการพระดาบส

2.2.2.2. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ

2.3. ด้านศาสนา

2.3.1. ทรงเป็นองค์อัครศาสนูปถัมภก

2.3.2. ผนวชตามโบราณราชพิธี

2.3.3. บำเพ็ญศาสนกิจ

2.3.4. ทรงปลูกฝังศาสนาตามแนวพระราชดำริ

2.3.5. ทงปฎิบัติธรรม

2.4. ด้านศิลปวัฒนธรรม

2.4.1. การฟื้นฟูขนบธรรมเนียมประเพณี

2.4.2. ภาษาไทย

2.4.3. ดนตรีและนากศิลป์

3. การบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจและสังคม

3.1. ปัญหาเกี่ยวกับทรัพยากรณ์ธรรมชาติ

3.1.1. ปัญหาเกี่ยวกับป่าไม้

3.1.1.1. ปลูกป่า ๓ อย่างให้มีประโยชน์ ๔ อย่าง

3.1.1.2. การปลูกป่าทดแทน

3.1.1.3. ป่าเปียก

3.1.1.4. การปล่อยใให้ป่าเจริญเติบโตโดยธรรมชาติ

3.1.1.5. การปลูกป่าในที่สูง

3.1.1.6. ฝายชะลลอความชุ่มชื้น

3.1.1.7. ปลูกป่าในใจ

3.1.2. ปัญหาเกี่ยวกับน้ำ

3.1.2.1. การบริหารจัดการน้ำท่วม

3.1.2.2. การบริหารจัดการน้ำแล้ง

3.1.2.3. การบริหารจัดการน้ำเสีย

3.1.3. ปัญหาเกี่ยวกับดิน

3.1.4. ปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ

3.1.4.1. การจัดการขยะ

3.1.4.2. การจัดการอากาศเป็นพิษ

4. พระราชประวัติ

4.1. ด้านการศึกษา

4.1.1. พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษาเสด็จเข้าศึกษาในโรงเรียน 2476

4.1.2. ทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477

4.1.3. ทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์

4.1.4. ทรงรับประกาศนียบัตรทางอักษรศาสตร์จากโรงเรียนฌีมนาซกลาซิกก็องตอนาลเดอโลซาน

4.1.5. ศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยโลซานแผนกวิทยาศาสตร์

4.2. ครองราชย์

4.3. พระราชพิธีราชาภิเษกสมรส

4.4. ทรงพระผนวช

4.4.1. ออกจากที่นี่เวลา 15 วันระหว่างวันที่ 22 ตุลาคม - 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 2499 ณ วัดพระศรีรัตนศาศาราม

4.4.2. ทรงได้รับฉายาว่า ภูมิพโลภิกขุ

4.5. พระราชพิธีอัญเป็นมหามงคล

4.6. ตราสัญลักษณ์ทรงครองสิริราชสมบัตติ

5. พระอัจฉริยภาพ

5.1. ด้านจิตรกรรม

5.1.1. มีผลงานฝีพระหัตถ์จำนวนมาก ตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๐๒-๒๕๑๐

5.2. ด้านการถ่ายภาพ

5.2.1. แบ่งเป็น ๒ ประเภท

5.2.1.1. ภาพถ่านแนววิจิตรศิลป์

5.2.1.2. ภาพถ่ายพระราชปณิธานในการ พัฒนาประเทศ

5.2.2. ทงสนพระราชหฤทัยในการถ่ายภาพ ตั้งแต่พระชนมพรรษา ๘ พรรษา

5.3. ด้านดนตรี

5.3.1. พระองค์ทรงดนตรีได้หลายชนิด เช่น แซ็กโซโฟน คราริเน็ต ทรัมเป็ต กีตาร์ และเปียโน

5.3.2. ทรงโปรดดนตรีแจ๊สเป็นอย่างมาก และพระองค์ได้ประพันธ์หลายเพลง

5.3.2.1. โปรดกีฬาเรือใบเป็นพิเศษ พระองค์ทรงเป็นตัวแทนของประเทศไทยแข่งเรือใบในกีฬาแหลมทองครั้งที่ 4

5.4. ด้านกีฬา

5.4.1. พระองค์ยังทรงออกแบบและประดิษฐ์เรือใบยามว่างหลายรุ่น

5.5. ด้านหัตถศิลป์

5.6. ด้านวรรณศิลป์

5.6.1. ทรงร่างและแก้ไข พระบรมราโชวาทด้วยพระองค์เอง

5.6.2. ทรงแปลพระราชนิพนธ์

5.6.2.1. นายอินทร์ปู้ปิดทองหลังพระ

5.6.2.2. ติโต

5.6.3. พะราชนิพนธ์วรรณกรรมชาดก

5.6.3.1. พระมหาชนก

5.6.3.2. ทองแดง

5.7. ด้านการสื่อสาร

5.7.1. ประธานสภาบริหารของสหภาพโทรตมนาคมระหว่างประเทศ

5.7.2. ทรงประดิษฐฺ์ของเล่นด้วยพระองค์เอง

5.7.3. ความสนพระทัยด้านการสื่อสาร

5.7.3.1. สถานีวิทยุ อ.ส. พระราชวังสวนดุสิต

5.7.3.2. ดาวเทียมไทยคม

5.7.3.3. หุ่นยนต์หมอพระราชทาน

5.8. ด้านงานช่าง

5.8.1. นักประดิษฐิ์

5.8.1.1. ทรงพันลวดเพื่อสร้างมอเตอร์ไฟฟ้า

5.8.1.2. ทรงแกะไม้เป็นเครื่องร่อน

6. พระราชปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง

6.1. ความสำคัญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

6.2. หลักการและแนวคิดของปรัชญญาเศรษฐกิจพอเพียง

6.3. พระราชดำรัส และ พระบรมราโชวาทเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง

6.4. ธรรมะพื้นฐานแห่งความเพียร

6.5. มิติ ๔ ด้าน

7. ทศพิธราชธรรมในการปกครอง ระบบประชาธิปไตย

7.1. พระราชสถานะและกรณียกิจ

7.1.1. เป็นพระประมุขของชาติ

7.1.2. ทรงเป็นที่เคารพสักการะ

7.1.3. ทรงเป็นพุทธมามกะและอัครศาสนูปถัมภก

7.1.4. ทรงถูกละเมิดมิได้

7.1.5. ทรงเป็นจอมทัพไทย

7.2. การปกครองไทย

7.2.1. ทรงเป็นหลักสูงสุดในการปกครองประเทศ

7.2.2. ทรงใช้หลักทศพิธราชธรรมครองแผ่นดิน

7.2.2.1. ท่าน

7.2.2.2. ศีล

7.2.2.3. อาชชวะ

7.2.2.4. มัททวะ

7.2.2.5. ตปะ

7.2.2.6. อักโกธะ

7.2.2.7. ขันติ

7.2.2.8. อวิโรธนะ

7.2.3. ทรงบำเพ็ญทาน

7.2.4. ทรงยึดมั่นในศีลธรรม

7.2.5. ทรงสระความสุขส่วนพระองค์

7.2.6. ทรงใกล้ชิดกับประชาชน

7.2.7. เสด็จเยี่ยมราษฎรทุกภาคของประเทศด้วยพระราชวิริยะอุตสาหะ

7.2.8. ทรงละความโกรธ

7.2.9. ทรงเมตตาชาวไทยทุกหมู่เหล่า

7.2.10. ทรงยึดมั่นในความถูกต้องดีงาม

7.2.11. ทรงคำนึงถึงประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม