ประเภทของระบบสารสนเทศ
by Suwanit Thammabut
1. 2.ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
1.1. เป็นระบบที่ให้สารสนเทศที่ผู้บริหารต้องการเพื่อให้สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.2. คุณสมบัติของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 1. ความสามารถในการจัดการข้อมูล 2. ความปลอดภัยของข้อมูล 3. ความยืดหยุ่น 4. ความพอใจของผู้ใช้
1.3. ประโยชน์ของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 1.ช่วยให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงสารสนเทศที่ต้องการได้อย่างรวดเร็วและทันต่อเหตุการณ์ 2.ช่วยผู้ใช้ในการกำหนดเป้าหมายกลยุทธ์ และการวางแผนปฏิบัติการ 3.ช่วยผู้ใช้ในการตรวจสอบประเมินผลการดำเนินงาน 4.ช่วยผู้ใช้ในการศึกษา และวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาผู้บริหาร 5.ช่วยให้ผู้ใช้สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรืออุปสรรคที่เกิดขึ้น เพื่อหาวิธีควบคุม ปรับปรุง และแก้ไขปัญหา 6.ลดค่าใช้จ่าย
1.4. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการจะประกอบด้วยหน้าที่หลัก คือ 1. สามารถเก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆ ทั้งจากภายในและภายนอกองค์การมาไว้ด้วยกันอย่างเป็นระบบ 2. สามารถทำการประมวลผลข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ
2. 4.ระบบสนับสนุนการตัดสินใจเเบบกลุ่ม
2.1. เป็นระบบย่อยในระบบสาสนเทศเพื่อการจัดการโดยที่ระบบสนับสนุนการตัดสินใจในกิจกรรมทางธุรกิจต่างๆ
2.2. มีลักษณะดังนี้ -ถูกออกแบบโดยเฉพาะ -มีเป้าหมายเพื่อการแก้ไขปรับปรุง -ง่ายต่อการเรียนรู้ -มีกลไกต่อการทำงานในเรื่องการปรับปรุง -มีความสามารถในการกระตุ้นให้เกิดกิจกรรม -เพื่อใช้ในการแก้ปัญหา
3. 6.ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหารระดับสูง
3.1. เป็นระบบที่สร้างขึ้นเพื่อสนับสนุนสารสนเทศและการตัดสินใจ
3.2. มีหน้าที่ในการทำงาน ดังนี้ -ช่วยในการวางแผนกลยุทธ์ -ช่วยในการติดตามสถานการณ์
4. 8.ระบบสำนักงานอัตโนมัติ
4.1. เป็นระบบที่ใช้บุคลากรน้อยที่สุด โดยอาศัยเครื่องแบบอัตโนมัติและระบบสื่อสารเชื่อมโยงข่าวสารระหว่างเครื่องมือเหล่านั้นเข้าด้วยกัน
4.2. ประโยชน์ของสำนักงานอัตโนมัติ - ประหยัดงบประมาณค่าใช้จ่า - ช่วยลดต้นทุนในการบริหาร - ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการติดต่อสื่อสาร ทำให้สามารถรับข้อมูลและส่งต่อข้อมูลได้อย่างรวดเร็วด้วยเทคโนโลยีสื่อสาร - ประหยัดพื้นที่ในการเก็บข้อมูล - เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน - การจัดพิมพ์เอกสาร สามารถใช้เวลาน้อยลงและสะดวกขึ้น - การดำเนินงานต่าง ๆ เกี่ยวกับเอกสารและสารสนเทศเป็นระบบมากขึ้น - ผู้บริหารสามารถตัดสินใจได้ถูกต้องและรวดเร็ว คือ การทำงานมีความถูกต้องแม่นยำ เนื่องจากอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่นำมาใช้ในสำนักงานอัตโนมัติสามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่องและถุกต้อง
4.3. ระบบ สำนักงานอัตโนมัติ (OAS) ประกอบด้วยระบบ ต่างๆ ดังนี้ 1. ระบบจัดการเอกสาร 2. ระบบจัดการด้านข่าวสาร 3. ระบบประชุมทางไกล 4. ระบบสนับสนุนสำนักงาน
5. 1.ระบบสารสนเทศเเบบประมวลรายการ (TPS)
5.1. เป็นระบบสารสนเทศที่เกี่ยวกับการบันทึกเเละการประมวลข้อมูล
5.2. เช่น การซื้อขายสินค้า การบันทึกจำนวนวัสดุคลัง เป็นต้น
5.3. วัตถุประสงค์ของ TPS 1) มุ่งจัดหาสารสนเทศทั้งหมดที่หน่วยงานต้องการตามนโยบายของหน่วยงาน 2) เพื่อเอื้ออำนวยต่อการปฏิบัติงานประจำให้มีความรวดเร็ว 3) เพื่อเป็นหลักประกันว่าข้อมูลและสารสนเทศของหน่วยงานมีความถูกต้องเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันและรักษาความลับได้ 4) เพื่อเป็นสารสนเทศที่ป้อนข้อมูลเข้าสู่ระบบสารสนเทศที่ใช้ในการตัดสินใจอื่น
5.4. หน้าที่ของ TPS 1) การจัดกลุ่มของข้อมูล 2) การคิดคำนวณ 3) การเรียงลำดับข้อมูล 4) การสรุปข้อมูล 5) การเก็บ
5.5. ลักษณะสำคัญของระบบสารสนเทศแบบ TPS • มีการประมวลผลข้อมูลจำนวนมาก • แหล่งข้อมูลส่วนใหญ่มาจากภายในและผลที่ได้เพื่อตอบสนองต่อผู้ใช้ภายในองค์การเป็นหลัก • กระบวนการประมวลผลข้อมูลมีการดำเนินการเป็นประจำ • มีความสามารถในการเก็บฐานข้อมูลจำนวนมาก • มีการประมวลผลข้อมูลที่รวดเร็ว เนื่องจากมีปริมาณข้อมูลจำนวนมาก •จะคอยติดตามและรวบรวมข้อมูลภายหลังที่ผลิตข้อมูลออกมาแล้ว • ข้อมูลที่ป้อนเข้าไปและที่ผลิตออกมามีลักษณะมีโครงสร้างที่ชัดเจน • ความซับซ้อนในการคิดคำนวณมีน้อย • มีความแม่นยำค่อนข้างสูง การรักษาความปลอดภัย ตลอดจนการรักษาข้อมูลส่วนบุคคล • ต้องมีการประมวลผลที่มีความน่าเชื่อถือสูง.
6. 3.ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
6.1. เป็นระบบที่พัฒนาขึ้นจากระบบ MIS เนื่องจากผู้ที่มีหน้าที่ในการตัดสินใจจะสามารถใช้ประสบการณ์หรือใช้ข้อมูลที่มีอยู่แล้วในระบบ
6.2. ประโยชน์ 1. ช่วยเตรียมความพร้อมในการประชุม 2. อำนวยความสะดวกด้านการสื่อสารระหว่างสมาชิกในกลุ่ม 3. ส่งเสริมและสร้างบรรยากาศในการร่วมมือกันระหว่างสมาชิก 4. จัดเตรียมข้อมูลและสารสนเทศที่เหมาะสมในการประชุม5. ช่วยจัดลำดับความสำคัญของปัญหา6. อำนวยความสะดวกในการจัดทำเอกสารประกอบการประชุม7. ช่วยประหยัดเวลาในการประชุมและสามารถลดจำนวนครั้งของการประชุมได้
6.3. การตัดสินใจ กระบวนการตัดสินใจประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ 1.การใช้ความคิดประกอบเหตุผล 2.การออกแบบ 3.การคัดเลือก 4.การนำไปใช้
7. 5.ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
7.1. กระบวนการการทำงานเกี่ยวกับข้อมูลในเชิงพื้นที่ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้กำหนดข้อมูลและสารสนเทศ
7.2. ลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่เรียกว่า ‘ฟีเจอร์’ มีดังนี้-แบบจุด -แบบเส้น -โพลิกอน
7.3. หน้าที่ในการทำงาน -นำเข้าข้อมูล -ปรับแต่งข้อมูล -บริหารข้อมูล -เรียกค้นข้อมูล -นำเสนอข้อมูล
8. 7.ปัญญาประดิษฐ์
8.1. ระบบที่ทำให้คอมพิวเตอร์กลายเป็นผู้ชำนาญการณ์ในสาขาใดสาขาหนึ่งคล้ายกับมนุษย์
8.2. -เป็นความสามารถเทียมที่สร้างขึ้นให้กับสิ่งมีชีวิต -มีการพัฒนาโดยส่วนใหญ่จากนักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ -มีการกระทำการให้เหตุผล การทำงานของสมอง