1. ก่อให้เกิดโรคแอนแทร็ก (Anthrax)
2. ลักษณะเด่น
2.1. เป็นอาณาจักรเดียวที่เป็น Prokaryote
2.2. ไม่มี organelle ที่มีเยื่อหุ้ม
2.3. มีแต่ organelle ที่ไม่มีเยื่อหุ้ม ex. Ribosome70s
2.4. มีโครโมโซมแค่แท่งเดียว และไม่จับกับโปรตีน Histone พบDNAวงแหวนใน cytoplasm เรียก Plasmid
2.5. อาจมี Flagella ที่ไม่เหมือนกับ Eukaryote แต่เป็นโปรตีน Flagellin แทน
2.6. สืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ โดยแบ่งตัวตามขวาง
2.7. อาจมีหรือไม่มีผนังเซลล์ก็ได้
2.8. มี Metabolism ที่หลากหลาย
2.8.1. Photoautotroph
2.8.1.1. สังเคราะห์แสงเองได้ คือสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน (Cyanobacteria) ex. spirulina
2.8.2. Heterotroph
2.8.2.1. สร้างอาหารเองไม่ได้ คือกลุ่มผู้ย่อยสลาย ex. ปรสิต
2.8.3. Chemautotroph
2.8.3.1. สังเคราะห์ทางเคมีแล้วนำมาสร้างอาหารเองได้ ex. Nitrifying bacteria
2.8.4. ตรึงไนโตรเจน
2.8.4.1. Rhizobium พบในพืชตระกูลถั่ว
2.8.4.2. Nostoc พบในรากปลง
2.8.4.3. Anabena พบในแหนแดง
2.9. เมื่ออยู่ในสภาวะที่ไม่เหมาะสม
2.9.1. สร้างแคปซูล
2.9.1.1. อยู่นอกผนังเซลล์ ทนต่อการทำลายของเม็ดเลือดขาว มักก่อโรครุนแรง
2.9.2. สร้างเอ็นโดสปอร์
2.9.2.1. ไม่จัดเป็นการสืบพันธุ์
2.9.2.2. ไม่มีการเพิ่มจำนวนเซลล์
3. ความสำคัญต่อระบบนิเวศ
3.1. สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน
3.1.1. เป็นผู้ผลิตในระบบนิเวศ
3.2. แบคทีเรีย
3.2.1. ผู้ย่อยสลายอิินทรียสาร
3.2.2. ทำให้เกิดการหมุนเวียนสารต่างๆ
4. กลุ่มสิ่งมีชีวิต
4.1. Archaeabacteria
4.1.1. Euryarchaeota
4.1.1.1. กลุ่มเมธาโนเจน
4.1.1.1.1. ผลิตมีเทนได้
4.1.1.1.2. อยู่ในที่ที่ไม่มีออกซิเจน
4.1.1.2. กลุ่มชอบความเค็มจัด
4.1.1.2.1. สามารถทนกับความเข้มข้นที่สูงของเกลือ
4.1.1.3. กลุ่มชอบความร้อนและภาวะกรด
4.1.1.3.1. ทนอยู่ในสภาวะที pH 1-2
4.1.1.3.2. ทนอุณหภูมิได้สูงสุด 105 ํc
4.1.1.3.3. สร้างกรดกำมะถันได้
4.1.2. Crenarchaeota
4.1.2.1. กลุ่มแบคทีเรียที่ชอบความร้อนและกรดจัด
4.1.2.1.1. ทนอุณหภูมิสูงถึง 121 ํc
4.1.2.1.2. อยู่ในสภาวะ pH < 1 ได้
4.2. แบคทีเรียแกรมบวก (ย้อมติดสีม่วงของ Crystal violet)
4.2.1. Lactobacillus
4.2.1.1. หมักน้ำตาลกลูโคสหรือแลกโทสให้เกิดกรดแล็กติกได้
4.2.1.2. ใช้ถนอมอาหารในกระบวนการหมัก
4.2.2. Bacillus
4.2.2.1. ทำให้อาหารเสีย
4.2.2.2. หมักเพื่อทำอาหารได้ ex. ถั่วเน่า (นัตโตะ)
4.2.3. Streptomyces
4.2.3.1. ใช้ผลิตยาปฏิชีวนะ คือ ยา Streptomycin
4.2.4. Mycoplasma
4.2.4.1. ขนาดเล็ก ไม่มีผนังเซลล์
4.2.4.2. เซลล์ที่เล็กที่สุด
4.2.4.3. สาเหตุการติดเชื้อโรคทางเดินหายใจทั้งส่วนบนและล่าง ex. โรคปอดบวม
4.3. Eubacteria
4.3.1. แบคทีเรียแกรมลบ (ย้อมติดสีแดงของ Safranin)
4.3.1.1. Proteobacteria
4.3.1.1.1. พบมากสุด มีเมทาบอลิซึมที่หลากหลาย
4.3.1.2. Chlamydias
4.3.1.2.1. เป็นปรสิตในเซลล์
4.3.1.2.2. เกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ex. หนองใน
4.3.1.3. Spirochetes
4.3.1.3.1. ดำรงชีวิตแบบอิสระและปรสิต
4.3.1.3.2. สาเหตุของโรคซิฟิลิส โรคฉี่หนู
4.3.1.4. Cyanobacteria
4.3.1.4.1. ผนังเซลล์
4.3.1.4.2. ผู้ผลิตที่สำคัญในระบบนิเวศ
4.3.1.4.3. บางชนิดตรึงแก๊สไนโตรเจนได้ไนเตรต
4.3.1.5. รูปร่างที่สำคัญ
4.3.1.5.1. Coliform
4.3.1.5.2. Salmonella
5. ประโยชน์
5.1. ด้านอุตสาหกรรม
5.1.1. หมักอาหาร
5.1.2. ฟอกหนัง
5.2. ด้านเกษตร
5.2.1. ใช้เป็นปุ๋ย
5.3. ด้านการแพทย์
5.3.1. ผลิตยาปฏิชีวนะ
5.4. ด้านเทคโนโลยีชีวภาพ
5.4.1. ใช้แบคทีเรียย่อยสลายขยะ ให้เป็นอาหารของพืช