ดาวฤกษ์

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ดาวฤกษ์ by Mind Map: ดาวฤกษ์

1. จุดจบของดาวฤกษ์

1.1. ดาวแคระขาว

1.1.1. white dwarf

1.1.1.1. ดาวฤกษ์ที่มีขนาดเท่าดวงอาทิตย์

1.1.1.2. สามารถปล่อยพลังงานความร้อน,พลังงานแสง

1.1.1.3. ได้จากปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่ใจกลางโดยการเปลี่ยนธาตุเบา

1.1.1.4. เช่น ธาตุไฮโดรเจนให้เป็นธาตุที่หนักขึ้นคือฮีเลียม

1.1.2. ส่วนขอบจะขยายตัวกลายเป็นดาวฤกษ์ขนาดใหญ่

1.1.2.1. เรียกดาวยักษ์แดง

1.1.3. ผิวนอกหลุดออกจากดวงดาว

1.1.3.1. เผยให้เห็นใจกลางขนาดเล็กร้อนจัด

1.1.3.2. เรียกดาวแคระขาว

1.2. ดาวนิวตรอน

1.2.1. neutron star

1.2.1.1. เกิดจากดาวกฤษ์ที่มีขนาดใหญ๋ปล่อยพลังงานความร้อน

1.2.1.2. พลังงานแสงอาทิตย์ออกสู่ภายนอก ซึ่งพลังงานนี้เกิดจากปฎิกิริยานิวเคลียร์

1.2.1.3. คือการเปลี่ยนไฮโดรเจนเป็นฮีเลียม

1.2.2. มวลสารต่างๆจะยุบตัวลงสู่ใจกลาง

1.2.3. เกิดความหนาแน่น,อุณหภูมิที่สูงมากจนเกิดการรวมตัวของโปรตอนและอิเล็กตรอน

1.2.4. ได้นิวตรอนจึงเกิดพลังงาน

1.2.4.1. เรียกว่าซุปเปอร์โนวา

1.3. หลุมดำ

1.3.1. เกิดจากดาวฤกษ์ขนาดใหญ่

1.3.1.1. มีมวลสารปริมาณมาก

1.3.2. ส่วนแกนกลางที่เหลือจะยุบตัวกลายเป็นดาวดับ

1.3.2.1. ที่มีความหนาแน่นนมหาศาล

1.3.3. สามารถดึงดูดทุกสิ่งที่อยู่โดยรอบเข้าไปแม้กระทั่งอนุภาคของแสง

2. ความสว่างของดาวฤกษ์

2.1. ความสว่างปรากฎของดาวได้บอกตัวเลขที่ไม่มีหน่วย

2.1.1. เรียกว่าอันดับความสว่าง

2.1.2. หรือแมกนิจูด

2.2. ความสว่างของดาวที่เรามองเห็น

2.2.1. จากโลกนี้ไม่ใช่แสงสว่างที่แท้จริง

2.3. เนื่องจากดาวบนดวงที่มีความสว่างมากแต่อยู่ไกลจากโลกมาก

2.4. อาจทำให้เรามองเป็นดาวที่มีแสงริบหรี่ได้

2.4.1. โดยเรียกความสว่างของดาว

2.4.2. ที่สังเกตเห็นได้จาก

2.4.2.1. ความสว่างปรากฎ

3. การเกิดดาวกฤษ์

3.1. เกิดจากกลุ่มแก๊สไฮโดรเจนขนาดมหึมาในอวกาศเรียกว่า

3.1.1. เนบิวลา

3.2. ซึ่งกลุ่มแก๊สจะเริ่มยุบตัวลงอย่างช้าๆเนื่องจากแรงโน้มถ่วงจากศูนย์กลาง

3.3. โดยขณะยุบตัวแรงโน้มถ่วงก็จะเพิ่มมากขึ้น

3.4. ทำให้อัตรายุบตัวถูกเร่งให้เร็วขึ้นใจกลางของกลุ่มแก๊สจึงความหนาแน่น,อุณหภูมิสูงขึ้น

3.5. คือปฏิกริยาที่ธาตุเบา

3.5.1. เช่นไฮโดรเจนรวมตัวเป็นธาตุมีน้ำหยักมากขึ้น

4. วิวัฒนาการของดาวฤกษ์

4.1. ดาวฤกษ์ทุดวงเมื่อปลดปล่อยพลังงานความร้อน,แสงสว่างออกมา มวลไฮโดรเจนภายในจะลดลง

4.1.1. มีมวลสารฮีเลียมเพิ่มขึ้น

4.1.2. จึงในที่สุดไฮโดรเจนจะหมดไป

4.2. กลายเป็นดาวดับ

4.2.1. ซึ่งสิ้นสุดอายุของดาวกฤษ

4.3. มี2ลักษณะ

4.3.1. 1 การสิ้นสุดของดาวฤกษ์ที่มีขนาดใกล้เคียงกับดวงอาทิตย์

4.3.2. 2การสิ้นสุดของดาวกฤษ์ที่มีขนาดใหญ่

5. สี,อุณหภูมิของดาวฤกษ์

5.1. สีของดาวฤกษ์จะขึ้นอยู่กับ

5.1.1. อุณหภูมิพื้นผิวของดาวฤกษ์

5.2. คือดาวที่มีอุณหภูมิพื้นผิวต่ำ จะมีสีค่อนข้างแดง

5.2.1. ดาวที่มีอุณหภูมิพื้นผิวสูง

5.2.2. จะมีสีไปทางขาวหรือแกมน้ำเงิน

5.3. สีเหลืองอมขาวมีอุณหภูมิประมาณ7400องศาเคลวิน

5.4. สีแดงอุณหภูมิประมาณ3500องศาเคลวิน

5.5. สีฟ้าอุณหภูมิประมาณ28000องศาเคลวิน

5.6. สีน้ำเงินน้ำเงินอมขาวประมาณ29000-40000องศาเคลวิน

5.7. นอกจากนี้ดาวแต่ละประเภทยังจัดอยู่คนละชั้นสเปกตรัมกันอีกด้วย