1. กระบวนการPDCA
1.1. PDCA คือ วงจรการบริหารงานคุณภาพ ย่อมาจาก 4 คำ ได้แก่ Plan (วางแผน), Do (ปฏิบัติ), Check (ตรวจสอบ) และ Act (การดำเนินการให้เหมาะสม) ซึ่งวงจร PDCA สามารถประยุกต์ใช้ได้กับทุกๆ
1.2. P = Plan คือ การวางแผนงานจากวัตถุประสงค์ และเป้าหมายที่ได้กำหนดขึ้น
1.3. D = Do คือ การปฏิบัติตามขั้นตอนในแผนงานที่ได้เขียนไว้อย่างเป็นระบบและมีความต่อเนื่อง
1.4. C = Check คือ การตรวจสอบผลการดำเนินงานในแต่ล่ะขั้นตอนของแผนงานว่ามีปัญหาอะไรเกิดขึ้น จำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงแก้ไขแผนงานในขั้นตอนใด
1.5. A = Action คือ การปรับปรุงแก้ไขส่วนที่มีปัญหา หรือถ้าไม่มีปัญหาใดๆ ก็ยอมรับแนวทางการปฏิบัติตามแผนงานที่ได้ผลสำเร็จ เพื่อนำไปใช้ในการทำงานครั้งต่อไป
2. งานช่างในบ้าน
2.1. ช่าง หมายถึง ผู้ที่มีความรุู้ความสามารถในศิลปะอย่างใดอย่างหนึ่ง
2.2. ประโยชน์ของงานช่าง คือทำให้ยืดอายุการใช้งานของเครื่องมือ เครื่องใช้ บางครั้งสามารถใช้ความรู้ซ่อมแซมแก้ไข
3. การเย็บผ้า
3.1. 6 วิธีเย็บขั้นพื้นฐาน
3.1.1. สอย การสอยแบบนี้เป็นที่นิยมเก็บชายปลอกหมอนหรือชิ้นงานที่ต้องการเก็บปลายแบบไม่ต้องการให้เห็นด้าย เพราะการสอยจะทำให้ไม่เห็นด้ายเป็นเพียงจุดเล็ก ๆ เพราะอย่างนั้นเราจึงควรเลือกด้ายให้เข้ากับสีผ้าที่สุดนะ
3.1.2. เนา เนาคือการเย็บแบบด้านเส้นสีเขียวทั้ง 2 เส้นด้านบน เป็นการเย็บแบบง่ายที่มักใช้เย็บขอบแบบธรรมดาพื้นฐาน และเมื่อต้องการยึดผ้า 2 ชิ้นเข้าด้วยกันแบบชั่วคราวแล้วละก็ การเย็บเนาตะเข็บค่อนข้างห่างกันก็เป็นตัวเลือกที่ดี แต่หากต้องการตะเข็บแน่นหนาก็ให้เย็บถี่ ๆ
3.1.3. สอยฟันปลา สอยฟันปลาสีฟ้าที่เห็นด้านบนนี้เป็นตะเข็บแบบเห็นเพียงครึ่งเดียวตรงผ้าด้านหน้านะ และยังเป็นตะเข็บที่เหมาะมากสำหรับเย็บขอบผ้า หรือใช้กับงานที่เป็นวงกลมอย่างผ้าปูโต๊ะหรือโซฟา ทั้งยังเหมาะสำหรับเย็บผ้าซับในของผ้าม่านอีกด้วยนะ
3.1.4. ลายปักริมผ้าห่ม ใช่แล้ว เรามักจะเห็นลายนี้ใช้เย็บขอบผ้าห่มเสียเป็นส่วนใหญ่ ช่วยเก็บขอบผ้าได้ดีเลย แถมเย็บไม่ยากด้วยเช่นกัน
3.1.5. ตะเข็บเย็บหุ้ม ส่วนมากแล้วการเย็บตะเข็บแบบนี้มักใช้เย็บเก็บขอบต่าง ๆ คล้ายการสอยเลย แต่ว่าจะเห็นด้ายชัดเจนกว่า
3.1.6. เด้นถอยหลัง ด้นถอยหลังเป็นการเย็บขั้นพื้นฐานที่สำคัญมากเลยค่ะ เพราะใช้กันบ่อย ๆ แถมยังเป็นลายเย็บที่แข็งแรงมาก เหมาะสำหรับเย็บผ้าให้ติดกัแน่น ทั้งยังใช้ปักลายผ้าด้วยนะ