1. การเกิดการถ่ายทอด
1.1. ทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยม
1.1.1. การตอบสนอง
1.1.2. สิ่งเร้า
1.2. ทฤษฏีกลุ่มพุทธิปัญญา
1.2.1. การเรียนรู้ซ้ำ ๆ จากนักปราชญ์ (ผู้รู้)
1.3. ทฤษฏีกลุ่มคอนสตรัคติวิสต์
1.3.1. การขัดเกลาทางสังคม
2. บทบาทของความจำ
2.1. ทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยม
2.1.1. สิ่งที่ช่วยย้ำเตือน
2.1.2. สิ่งที่ทำแล้วจะได้รับสิ่งดีหรือไม่ดีตอบแทน
2.2. ทฤษฏีกลุ่มพุทธิปัญญา
2.2.1. การเก็บข้อมูล
2.2.2. การแก้ไขปัญหา
2.2.3. การไขรหัส
2.3. ทฤษฏีกลุ่มคอนสตรัคติวิสต์
2.3.1. การรวมกันของความรู้ก่อน-ปัจจุบัน
3. การเรียนรู้ที่ควรจัดในแต่ละทฤษฎี
3.1. ทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยม
3.1.1. การจัดการเรียนรู้โดยผ่านการจัดการงาน
3.2. ทฤษฏีกลุ่มพุทธิปัญญา
3.2.1. การให้เหตุผล
3.2.2. การบรรลุวัตถุประสงค์
3.2.3. การแก้ไขปัญหา
3.3. ทฤษฏีกลุ่มคอนสตรัคติวิสต์
3.3.1. การเข้าสังคม
3.3.2. การสร้างปัญหาให้ร่วมกันแก้ไข
4. การเกิดการเรียนรู้
4.1. ทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยม
4.1.1. Black box
4.1.1.1. เกิดขึ้นจากการสังเกต
4.2. ทฤษฎีกลุ่มพุทธปัญญานิยม
4.2.1. เกิดขึ้นจากการคืดวิเคราะห์
4.2.1.1. การนำสิ่งต่าง ๆ มาประกอบกับความรู้
4.3. ทฤษฎีกลุ่มคอนสตรัคติวิสต์
4.3.1. เกิดขึ้นจากประสบการณ์ชีวิต
5. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรู้
5.1. ทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยม
5.1.1. การเสริมแรง
5.2. ทฤษฎีกลุ่มพุทธิปัญญานิยม
5.2.1. ความรู้
5.2.2. ประสบการณ์เดิม
5.3. ทฤษฎีกลุ่มคอนสตรัคติวิสต์
5.3.1. สภาพแวดล้อมของสังคม
5.3.2. ข้อตกลงของสังคม
6. ตัวอย่างการจัดการเรียนรู้ที่เคยพบ
6.1. ทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยม
6.1.1. การท่องสูตรคูณ / ตารางธาตุ
6.1.2. การให้รางวัลเมื่อสอบได้คะแนนดี
6.1.3. การลงโทษเมื่อมาสายโดยการหักคะแนน
6.2. ทฤษฎีกลุ่มพุทธิปัญญานิยม
6.2.1. การอธิบายการเกิดของตัวอักษรญี่ปุ่น
6.2.2. การถามให้นักเรียนลองวิเคราะห์ด้วยตัวเอง
6.3. ทฤษฎีกลุ่มคอนสตรัคติวิสต์
6.3.1. การจำลองสถานการณ์เป็นครู
6.3.2. การทำโครงงานกลุ่ม