มารยาทและผลกระทบของอินเทอร์เน็ต

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
มารยาทและผลกระทบของอินเทอร์เน็ต by Mind Map: มารยาทและผลกระทบของอินเทอร์เน็ต

1. ใช้ภาษาที่สุภาพในการติดต่อสื่อสาร และใช้คำให้ถูกความหมาย เขียนถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ (พิชาภรณ์ เลขที่ 26)

2. มารยาท

2.1. ใช้คำสุภาพ ไม่ใช้คำหยาบ ไม่สื่อความหมายที่สร้างความไม่พอใจแก่คูสนทนา (คงศักดิ์ เลขที่8)

2.2. ไม่ควรเข้าไปเปิดแฟ้มหรือไฟล์ของผู้อื่น (จิรพันธ์ เลขที่35)

2.2.1. ก่อนที่จะเเชร์ภาพหรือข้อความของผู้อื่นต้องขออนุญาติเจ้าของลิขสิทธิก่อน (ประภาพร เลขที่11)

2.3. ไม่ละเมิดสิทธิ์ของผู้อื่น (สุพรรษา เลขที่33)

2.4. ใช้ภาษาที่ถูกต้อง ไม่ละเมิดสิทธิผูอื่น (พิชาดา เลขที่ 28)

2.5. เคารพในสิทธิ์และข้อมูลส่วนบุคคลของผู้อื่น (ลภัส เลขที่ 29)

2.6. ต้องไม่สอดแนม แก้ไข หรือเปิดแฟ้มข้อมูลผู้อื่น (สิทธิชัย เลขที่ 36)

2.6.1. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ล้วงข้อมูลผู้อื่น (อรนิชา เลขที่22)

2.7. การใช้อินเตอร์เน็ตทำให้เกิดการเสี่ยงต่อการสูญเสียงาน การเรียน และความสัมพันธ์ ยังใช้อินเตอร์เน็ตถึงแม้ว่าต้องเสียค่าใช้จ่ายมาก (ธนวัฒน์ เลขที่34)

2.8. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐานที่เป็นเท็จ(ฐิชาณัญชน์ เลขที่5)

2.9. เคารพสิทะฺข้อมูลส่นบุคคล (เกศกนก เลขที่ 25)

2.10. เคารพนสิทธิ์และข้อมูลส่วนบุคคลของผู้อื่น (อภิชญาเลขที่32)

2.11. ใช้คำพูดสุภาพ เเละเคารพสิทธิ์การใช้อินเทอร์เน็ต (ศศิกานต์ เลขที่15)

2.12. บอกแหล่งที่มาของข้อมูล ( วิภาดา เลขที่30 )

2.13. ไม่รบกวนทำงานของผู้อื่น (ประสิทธิชัย เลขที่14)

2.14. ต้องไม่รบกวนการทำงานของผู้อื่น (กาญจนา เลขที่10)

2.15. ใช้ภาษาให้ถูกต้องเเละเหมาะสมกับกาลเทศะ (เกศกนก เลขที่ 25)

2.16. ไม่ส่งเสียงดังเวลาใช้คอมพิวเตอร์รบกวนผู้อื่น (เปลววดีเลขที่19)

2.17. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการโจรกรรมข้อมูลข่าวสาร (ลักขณา เลขที่12)

2.18. ไม่ควรเเท็กคนอื่นที่เราไม่รู้จักในโพสของเรา (สุพัตรา เลขที่13)

2.19. เอาใจเขามาใส่ใจเรา อย่าปฏิบัติต่อคนอื่นในสิ่งที่เราไม่ต้องการให้คนอื่นปฏิบัติต่อเรา (ณิชาภัทร เลขที่6)

2.20. ในอินเตอร์เนตเราไม่ได้คุยกันแบบเผชิญหน้าดังนั้นสิ่งที่เราใช้ในการสื่อสารสำคัญนั้นคือ คำพูดดังนั้นจึงควรใช้ถ้อยคำที่เหมาะสมและสื่อความหมายได้ชัดเจน (สิริพร เลขที่7)

2.21. ประโยคคำพูดต่างๆ ที่พิมพ์ออกไปในเครือข่าย สามารถถูกบันทึกและส่งต่อไปยังบุคคลอื่นได้ ดังนั้น จึงต้องคำนึงถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นมาจากคำพูดนั้นๆ ด้วย (กฤติยา เลขที่4)

2.22. ประพฤติตนเช่นเดียวกันกับที่ประพฤติปฏิบัติอยู่ในชีวิตจริง (วนัชพร เลขที่2)

2.23. ในเครือข่ายนั้นมาตรฐานในการปฏิบัติตน อาจต่างกันไปในแต่ละเครือข่าย แต่โดยรวมแล้วไม่ต่างไปจากข้อพึงปฏิบัติที่เราใช้กันในชีวิตจริงทั้งในแง่ของจริยธรรมและกฏหมาย (สุทธิดา เลขที่ 21)

2.24. ารยาทในการใช้เครือข่ายจะแตกต่างกันไปในแต่ละเครือข่ายจึงต้องรู้ตัวอยู่เสมอว่ากำลังใช้เครือข่ายที่ใดอยู่ (มัลลิกา เลขที่24)

3. เป็นโรคติดต่ออินเทอร์เน็ต (ฐิชาณัญชน์ เลขที่5)

4. • รู้สึกหมกมุ่นกับอินเตอร์เน็ต แม้ในเวลาที่ไม่ได้ต่อกับอินเตอร์เน็ต • มีความต้องการใช้อินเตอร์เน็ตเป็นเวลานานขึ้น (พิชาภรณ์ เลขที่ 26 )

5. ผลกระทบ

5.1. ทำให้สายตาเสีย สุขภาพตาไม่ดี (จิรพัธ์ เลขที่35)

5.2. ทำให้สายตาเสีย (ศศิกานต์ เลขที่15)

5.2.1. การติดต่อสื่อสารรวดเร็ว (วิภาดา เลขที่30)

5.3. 2.การเสนอขายสินค้าผิดกฎหมายและขายบริการทางเพศ(สิทธิชัย เลขที่36)

5.3.1. 1.อาจทำให้เป็นโรคส่วนตัวสูง (ประภาพร เลขที่11)

5.3.2. ก่อให้เกิดปัญหาการหมกหมุ่นของเยาวชนที่เข้าไปในเว็บไซต์ (กาญจนา เลขที่10)

5.4. เกิดช่องว่างระหว่างคนนสังคม (อภิชญา เลขที่32)

5.5. ทำให้ผลการเรียนตกต่ำ (อรนิชา เลขที่22)

5.6. ข้อมูลที่เป็นเท็จและบิดเบือนมักแพร่กระจายอย่างรวดเร็ว(ศุภรดา เลขที่1)

5.7. เกิดการละเมิดสิทธิเสรีภาพส่วนบุคคล (คงศักดิ์ เลขที่8)

5.8. การเกิดปัญหาอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ (ลภัส เลขที่ 29)

5.9. ใช้เวลาว่างไม่เกิดประโยชน์ (สิรินยา เลขที่20)

5.10. เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านวัฒนธรรมและการละเมิดสิทธิ(เกศกนก เลขที่ 25

5.11. ทำให้เสียสมรรถภาพทางร่างกาย (สุพรรษา เลขที่33)

5.12. เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน (เปลววดี เลขที่19)

5.13. เกิดปัญญาหาของการละเมิดลิขสิทธิ์ (สุพัตรา เลขที่13)

5.14. เกิดปัญหาของการละเมิดลิขสิทธิ์ (ประสิทธิชัย เลขที่14)

5.15. .อินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ที่มีผู้คนมากมายเข้ามาใช้บริการ (ลักขณา เลขที่12)

5.16. จะทำให้ผู้อื่นเสียหายในทางที่ผิด (พิชาดา เลขที่28)

5.17. ก่อให้เกิดความเครียดขึ้นในสังคม (ณชาภัทร เลขที่6)

5.18. ก่อให้เกิดการรับวัฒนธรรม หรือแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมของคนในสังคมโลก (สิริพร เลขที่7)

5.19. ก่อให้เกิดผลด้านศีลธรรม การติดต่อสื่อสารที่รวดเร็วในระบบเครือข่ายก่อให้เกิดโลกไร้พรมแดน(กฤติยา เลขที่4)

5.20. การมีส่วนร่วมของคนในสังคมลดน้อยลง(วนัชพร เลขที่2)

5.21. การละเมิดสิทธิเสรีภาพส่วนบุคคลการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างไม่มีขีดจำกัด (มัลลิกา เลขที่24)

5.22. ผู้บริโภคได้รับประโยชน์จากการบริโภคสิ้นค้าที่หลากหลายและมีคุณภาพดีขึ้น (สุทธิดา เลขที่21)