กิจกรรมที่1:ความรู้ที่เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
กิจกรรมที่1:ความรู้ที่เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ by Mind Map: กิจกรรมที่1:ความรู้ที่เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ

1. นวัตกรรม

1.1. ความใหม่ (Newness)

1.2. ประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจ (Economic Benefits)

1.3. การใช้ความรู้และความคิดสร้างสรรค์(Knowledge and Creativity Idea)

2. เทคโนโลยีสารสนเทศ

2.1. เทคโนโลยี สารสนเทศ (Information technology) คือ การประยุกต์ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์มาจัดการสารสนเทศที่ต้องการโดยอาศัย เครื่องมือทางเทคโนโลยีใหม่ๆ เช่น เทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีด้านเครือข่ายโทรคมนาคม และ การสื่อสารตลอดจนอาศัย ความรู้ในกระบวนการดำเนินงานสารสนเทศในขั้นตอนต่างๆ ตั้งแต่การ แสวงหา การวิเคราะห์ การจัดเก็บรวมถึงการจัดการเผยแพร่ และแลก เปลี่ยนสารสนเทศด้วย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพความถูกต้องแม่นยำ และ ความรวดเร็วทันต่อการนำมาใช้ประโยชน์ได้นั่นเอง

3. พัฒนาการคอมพิวเตอร์

4. กระบวนการนวัตกรรม

4.1. 1.การค้นหา(Searching)

4.2. 2. การเลือกสรร(Selecting)

4.3. 3. การนำไปปฏิบัติ( Implementing)

4.3.1. 3.1 การรับ (Acquring)

4.3.2. 3.2 การปฏิบัติ(Executing)

4.3.3. 3.3 การนำเสนอ (Launching)

4.3.4. 3.4 การรักษาสภาพ(Sustaining)

4.4. 4. การเรียนรู้( Learning)

5. เครื่องคำนวณยุคประวัติศาสตร์

6. คอมพิวเตอร์ยุคหลอดสุญญากาศ

7. คอมพิวเตอร์ยุคทรานซิสเตอร์

8. คอมพิวเตอร์ยุควีแอลเอสไอ

9. เทคโนโลยีสื่อประสม

10. .

11. เทคโนโลยีสารสนเทศ

12. .

13. .

14. พัฒนาการคอมพิวเตอร์

15. ความสัมพันธ์กับฮาร์ดแวร์

16. ซอฟต์แวร์ เป็นชื่อเรียกเพื่อใช้เปรียบต่างกับฮาร์ดแวร์ ซึ่งเป็นลักษณะทางกายภาพในการเก็บและประมวลผลของซอฟต์แวร์ ในคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์จะถูกเรียกใช้งานในแรมและประมวลผลผ่านซีพียู

17. หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์

17.1. 1. รับข้อมูล

17.2. 2. ประมวลผลข้อมูล หรือ CPU (Central Processing Unit)

17.3. 3. จัดเก็บข้อมูล

17.3.1. 3.1 หน่วยควมจำหลัก

17.3.1.1. (3.1.1) หน่วยความจำแบบลบเลือนได้ คือ หากเกิดไฟดับระหว่างใช้งาน ข้อมูลจะหาย เรียกว่า แรม (RAM)

17.3.1.2. (3.1.2) หน่วยความจำแบบลบเลือนไม่ได้ คือ หน่วยความจำถาวร แม้ไฟจะดับข้อมูลก็จะยังอยู่เหมือนเดิม เรียกว่า รอม (ROM)

17.3.2. 3.2 หน่วยความจำสำรอง

17.3.2.1. คือ หน่วยความจำที่ช่วยให้คอมพิวเตอร์สามารถเก็บข้อมูลได้มากขึ้นได้แก่ ฮาร์ดดิสก์ ดิสเกตด์ แผ่นซีดี และอุปกรณ์เก็บข้อมูลชนิดพอร์ต ยูเอสบี

17.4. 4. แสดงผลข้อมูล

18. hardware

18.1. เป็นชุดขององค์ประกอบต่าง ๆ ที่ประกอบรวมกันเป็นระบบคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์เป็นส่วนประกอบกายภาพ เช่น จอภาพ เมาส์ คีย์บอร์ด แหล่งเก็บข้อมูลคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดดิสก์ การ์ดจอ การ์ดเสียง หน่วยความจำ (RAM) แผงวงจรหลัก เป็นต้น ทั้งหมดเป็นวัตถุที่จับ[2] ในทางกลับกัน ซอฟต์แวร์ คือชุดคำสั่งที่สามารถจัดเก็บและทำงานด้วยฮาร์ดแวร์

19. software

19.1. ส่วนชุดคำสั่ง [1] หรือบางครั้งมีการสะกดว่า ซอฟ‌ท์แวร์ เป็นส่วนของระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูล ซอฟต์แวร์นั้นนอกจากจะสามารถใช้งานบนคอมพิวเตอร์ได้แล้ว ยังสามารถใช้งานบนเครื่องใช้ หรืออุปกรณ์อื่น เช่น โทรศัพท์มือถือ หรือหุ่นยนต์ในโรงงาน หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าต่าง ๆ คำว่า "ซอฟต์แวร์" ใช้ครั้งแรกโดย จอห์น ดับเบิลยู. เทอร์กีย์ (John W. Turkey) ในปี พ.ศ. 2500 (ค.ศ. 1957) โดยแนวคิดของซอฟต์แวร์ปรากฏครั้งแรกในเรียงความของแอลัน ทัวริง บิดาของวิทยาการคอมพิวเตอร์ กล่าวกันว่าโปรแกรมคอมพิวเตอร์ชิ้นแรกของโลกเขียนโดยเอดา ไบรอน เป็นโปรแกรมที่ใช้สำหรับเครื่องวิเคราะห์ (analytical engine) ของชาร์ลส แบบเบจ

20. คอมพิวเตอร์ยุควงจรรวม

21. คอมพิวเตอร์ยุคเครือข่าย

22. คอมพิวเตอร์

23. .

24. ซฮฟต์แวร์

25. ฮาร์ทแวร์

26. .

27. .