ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์เบื้องต้น

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์เบื้องต้น by Mind Map: ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์เบื้องต้น

1. เทคโนโลยีสารสนเทศ

1.1. ระบบสารสนเทศนั้นประกอบด้วย 5 ส่วนหลัก

1.1.1. 1) บุคลากร

1.1.1.1. ต้องมีความรู้ความเข้าใจในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

1.1.2. 2) ขั้นตอนการปฏิบัติ

1.1.2.1. ระเบียบวิธีการปฏิบัติงานในการจัดเก็บรักษาข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่จะทำให้เป็นสารสนเทศได้

1.1.3. 3) ฮาร์ดแวร์

1.1.3.1. อุปกรณ์ที่ประมวลผลข้อมูลเพื่อสร้างข้อมูลสารสนเทศ

1.1.3.2. ถูกควบคุมโดยซอฟต์แวร์เป็นเครื่องมือที่ช่วยในการจัดการสารสนเทศ

1.1.4. 4) ซอฟต์แวร์

1.1.4.1. ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)

1.1.4.2. ซอฟท์แวร์แอพพลิเคชั่น (Application Software)

1.1.5. 5) ข้อมูล ข้อเท็จจริง

1.1.5.1. มีความถูกต้อง เที่ยงตรง มีความเป็นปัจจุบัน สามารถเชื่อถือได้

1.2. การนำเอาเทคโนโลยีมาใช้สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสารสนเทศ ทำให้สารสนเทศมีประโยชน์ และใช้งานได้กว้างขวางมากขึ้น

2. หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์

2.1. 1.รับข้อมูล

2.2. 2.ประมวลผลข้อมูล

2.3. 3.จัดเก็บข้อมูล

2.3.1. หน่วยความจำหลัก (main memory)

2.3.1.1. 1.1 หน่วยความจำเเบบลบเลือนได้

2.3.1.2. 1.2 หน่วยความจำเเบบลบเลือนไม่ได้

2.3.2. หน่วยความจำรอง (secondary storage)

2.4. 4.แสดงผลข้อมูล

3. พัฒนาการคอมพิวเตอร์

3.1. เป็นยุคที่ใช้หลอดสูญญากาศ

3.1.1. มีปัญหาเรื่องความร้อนและหลอดขาดบ่อย

3.1.2. ค.ศ. 1944 - 1958

3.1.3. คอมพิวเตอร์ของยุคนี้มีขนาดใหญ่โต

3.1.3.1. มาร์ค วัน (MARK I)

3.1.3.2. อีนิแอค (ENIAC)

3.1.3.3. ยูนิแวค (UNIVAC)

3.2. เป็นยุคที่ใช้ทรานซิสเตอร์

3.2.1. มีอุปกรณ์เก็บข้อมูลสำรองในรูปของสื่อบันทึกแม่เหล็ก

3.2.2. 2 ค.ศ. 1659 - 1964

3.2.3. สามารถเขียนโปรแกรมด้วยภาษาระดับสูง

3.2.3.1. ภาษาฟอร์แทน

3.2.3.2. ภาษาโคบอล

3.3. เป็นยุคที่ใช้ระบบวงจร IC

3.3.1. มีทรานซิสเตอร์บรรจุอยู่ภายในมากมาย

3.3.1.1. ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์จะออกแบบซับซ้อนมากขึ้น

3.3.1.2. สามารถสร้างเป็นโปรแกรมย่อย ๆ ในการกำหนดชุดคำสั่งต่าง ๆ

3.3.2. 3 ค.ศ. 1965 - 1970

3.4. ใช้ระบบ Large Scale Intergrarion (LSI) วงจรกึ่งตัวนำ

3.4.1. 4 ค.ศ. 1970 - ปัจจุบัน

3.4.2. เป็นยุคของคอมพิวเตอร์ที่ใช้วงจรรวมความจุสูงมาก

4. Hardware

4.1. - เครื่องมือ เครื่องจักร ชิ้นส่วน และอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่สามารถมองเห็น และจับต้องได้

4.2. - จอ Monitor (มอนิเตอร์), Keyboard (คีบอร์ด), Mouse (เมาส์), Modem (โมเดม), Router (เร้าเตอร์), เครื่องพิมพ์, Flash drive (เฟรชไดช์), CPU , RAM , สายเชื่อมต่อสัญญาณต่างๆ เป็นต้น

4.3. - แบ่งออกเป็นส่วนต่าง ๆ ตามลักษณะการทำงานได้ 4 หน่วย

4.3.1. 1. หน่วยรับข้อมูล Input Unit (อินพุต ยูนิต)

4.3.2. 2. หน่วยประมวลผลกลาง CPU : Central Processing Unit (เซนทอล โปรเซสชิง ยูนิต)

4.3.3. 3. หน่วยแสดงผล Output Unit(เอาร์พุต ยูนิต)

4.3.4. 4. หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง Secondary Storage(เซคคอนเดรี่ สตอเรส)

5. Software

5.1. ความหมาย

5.1.1. เป็นส่วนที่จับต้องไม่ได้

5.1.2. เรียกอีกอย่างได้ว่า "โปรแกรม"

5.1.3. ชุดคำสั่งที่สั่งงานคอมพิวเตอร์เป็นลำดับขั้นตอนของการทำงาน

5.2. ประเภทของซอฟต์แวร์

5.2.1. ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)

5.2.1.1. ระบบปฏิบัติการ

5.2.1.2. ตัวแปลภาษา

5.2.1.3. ยูทิลิตี้

5.2.2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)

5.2.2.1. ซอฟต์แวร์สำเร็จรูป

5.2.2.1.1. 1. ซอฟต์แวร์ประมวลคำ (Word Processing Software)

5.2.2.1.2. 2. ซอฟต์แวร์ตารางการทำงาน (Spread Sheet Software)

5.2.2.1.3. 3. ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล (Database Management Software)

5.2.2.1.4. 4. ซอฟต์แวร์นำเสนอ (Presentation Software)

5.2.2.1.5. 5. ซอฟต์แวร์สื่อสารข้อมูล (Data Communiation Software)

5.2.2.2. ซอฟต์แวร์เฉพาะงาน

5.2.2.2.1. 1. ซอฟต์แวร์สำหรับงานธุรกิจ

5.2.2.2.2. 2. ซอฟต์แวร์อื่นๆ

6. นวัตกรรม

6.1. องค์ประกอบของนวัตกรรม

6.1.1. 1.ความใหม่ (Newness)

6.1.2. 2. ประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจ (Economic Benefits)

6.1.3. 3. การใช้ความรู้และความคิดสร้างสรรค์(Knowledge and Creativity Idea)

6.2. กระบวนการนวัตกรรม

6.2.1. 1. การค้นหา (Searching)

6.2.2. 2. การเลือกสรร (Selecting)

6.2.3. 3. การนำไปปฏิบัติ (Implementing)

6.2.3.1. 3.1 การรับ (Acquring)

6.2.3.2. 3.2 การปฏิบัติ (Executing)

6.2.3.3. 3.3 การนำเสนอ (Launching)

6.2.3.4. 3.4 การรักษาสภาพ (Sustating)

6.2.4. 4. การเรียนรู้ (Learning)