1. Urinary tract infection
1.1. สาเหตุ
1.1.1. Escherichia Coli พบบ่อยที่สุด
1.1.2. การมีปัสสาวะคั่งในกระเพาะปัสสาวะ
1.1.3. เชื้อแพร่ขึ้นบนไปตามทางเดินปัสสาวะ เข้าสู่ระบบไหลเวียนเลือดและเข้าสู่หลอดนํ้าเหลือง เกิดการอักเสบของระบบปัสสาวะ
1.1.4. ภูมิต้านทานเฉพาะที่ของกระเพาะปัสสาวะลดลง
1.2. อาการ
1.2.1. เด็กเล็กตํ่ากว่า 2 ปี มีไข้ ตัวเหลือง อาเจียน เบื่ออาหาร ท้องเดิน เลี้ยงไม่โต
1.2.2. เด็กอายุ 2-14 ปี ไข้ ปัสสาวะบ่อยและปวดแสบขณะถ่าย ปัสสาวะมีกลิ่น ปวดท้องน้อย กดเจ็บบริเวณชายโครงด้านหลัง อาจถ่ายปัสสาวะเป็นเลือด
1.3. วินิจฉันโรค
1.3.1. ซักประวัติ อาการและการตรวจร่างกาย
1.3.2. ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
1.3.2.1. ตรวจปัสสาวะ : พบเม็ดเลือดขาว
1.3.2.2. การตรวจทางรังสีวิทยา
1.4. ภาวะแทรกซ้อน
1.4.1. ไตเสื่อมหน้าที่เกิดภาวะ Renal tubular acidosisและไตวาย
1.4.2. ความดันโลหิตสูง
1.4.3. นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
1.5. การรักษา
1.5.1. ลดการติดเชื้อโดยการให้ยาปฏิชีวนะ
1.5.2. ป้องกันเนื้อไตถูกทำลาย ไตวาย
1.5.3. ค้นหา แก้ไขความผิดปกติของระบบทางเดินปัสสาวะ
1.5.4. ให้นํ้าปริมาณมาก
1.5.5. บรรเทาอาการปวดแสบในการถ่ายปัสสาวะ
1.5.6. ป้องกันการกลับเป็นซ้ำ
1.6. การพยาบาล
1.6.1. ป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
1.6.2. สังเกตภาวะแทรกซ้อน
1.6.3. เสริมสร้างความแข็งแรง
1.6.4. อำนวยความสุขสบายของร่างกาย
1.6.5. สอนแนะนำ ด้านสุขศึกษา
2. Phimosis in children
2.1. อาการ
2.1.1. ปัสสาวะลำบาก ร้องปวดก่อนขับถ่ายปัสสาวะ
2.1.2. หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศโป่ง
2.1.3. หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศส่วนปลายบวมแดงอักเสบ
2.1.4. ลำปัสสาวะมีขนาดเล็กมาก
2.1.5. มีไข้ หนาวสั่น
2.1.6. หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศติดหัวอวัยวะเพศรูดแล้วเจ็บ
2.1.7. รูดหนังหุ้มปลายแล้วดันกลับไม่ได้
2.1.8. มีก้อนนูนใต้หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ
2.2. ภาวะที่พบบ่อยในเด็กเพศชาย หมายถึงภาวะที่ไม่สามารถรูดหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ กลับมาทางด้านหลังหัวของอวัยวะเพศได้
2.3. การักษา
2.3.1. การรักษาโดยวิธีประคับประคอง
2.3.1.1. ใช้ครีม steroid ที่มีความเข้มข้นไม่มากเกินไป ทาบริเวณหนังหุ้มปลายให้หนังหุ้มปลายมีความยืดหยุ่นดีขึ้น
2.3.2. การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ
2.4. ข้อบ่งชี้
2.4.1. การขลิบหนังหุ้มปลาย
2.4.1.1. หนังหุ้มปลายไม่เปิดที่มีลักษณะของพังผืดบริเวณปลายชัดเจน
2.4.1.2. อักเสบบริเวณปลายอวัยวะเพศเป็นๆหายๆ
2.4.1.3. ทางเดินปัสสาวะอักเสบ เป็นๆหายๆ
2.4.1.4. กลุ่มวัฒนธรรม ศาสนา และเชื้อชาติ นิยมขลิบหนังหุ้มปลาย
2.5. การดูแลหลังผ่าตัด
2.5.1. แผลจะหายประมาณ 1-3 อาทิตย์
2.5.2. แผลทุกวัน วันละ 1-2 ครั้ง
2.5.3. 24ชั่วโมงแรกถ้ามีเลือดออกใช้ผ้าก๊อสพันแผล กดไว้ 10 นาที จนกว่าเลือดจะหยุด
2.5.4. ในวันแรกหลังผ่าตัดอาจใช้แผ่นประคบเย็น
3. Acute glomerulonephritis
3.1. สาเหตุ
3.1.1. การติดเชื้อที่เกิดขึ้นตามหลังการติดเชื้ออื่นๆ
3.2. พยาธิสรีรภาพ
3.2.1. ติดเชื้อร่างกายสร้างแอนติบอดีเกิด Antigen-antibody complexหลอดเลือดฝอยใน Glomerular ถูกทำลายโดยlysozyme และ Anaphylatoxinการกรองของเสียและการดูดซึมกลับเกิดการคั่งของนํ้าและของเสีย
3.3. อาการ
3.3.1. บวมที่หน้า ขา ท้อง ชนิดกดไม่บุ๋ม ปัสสาวะน้อยมีสีเข้ม เด็กจะซีด กระสับกระส่ายและอ่อนเพลียเด็กโตปวดศีรษะ แน่นอึดอัดท้อง ถ่ายปัสสาวะไม่ค่อยออก
3.4. วินิจฉัยโรค
3.4.1. ประวัติ อาการและการตรวจร่างกาย
3.4.2. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
3.4.2.1. ตรวจปัสสาวะ
3.4.2.2. ตรวจเลือด
3.4.2.3. ตรวจอื่นๆ การเพาะเชื้อ EKG ตรวจเอกซเรย์:
3.5. ภาวะแทรกซ้อน
3.5.1. Hypertensive encephalopathy
3.5.2. Acute cardiac decompensation
3.6. การรักษา
3.6.1. ป้องกันหรือควบคุมการติดเชื้อ
3.6.2. ลดความดันโลหิตและอาการบวม
3.6.3. ควบคุม และป้องกันการติดเชื้อ
3.6.4. ควบคุม หรือป้องกันภาวะแทรกซ้อน
3.7. การพยาบาล
3.7.1. ป้องกันหรือควบคุมอาการบวม
3.7.2. ป้องกันภาวะโปแตสเซียมสูง
3.7.3. ลดความดันโลหิต
3.7.4. สังเกตการเกิดภาวะแทรกซ้อน
3.7.5. เสริมสร้างความแข็งแรงของร่างกาย
3.7.6. ประคับประคองด้านจิตใจแก่ผู้ป่วยและครอบครัว
3.7.7. อำนวยความสุขสบายของร่างกาย
4. Nephrotic syndrome
4.1. สาเหตุ
4.1.1. ความผิดปกติที่ไต
4.1.1.1. Idiopathic NS
4.1.1.2. Congenital NS
4.1.2. ร่วมกับโรคระบบอื่น ๆ
4.1.2.1. สารพิษ
4.1.2.2. ภูมิแพ้
4.1.2.3. โรคของระบบหายใจและหลอดเลือด
4.1.2.4. เนื้องอกชนิดร้าย
4.1.2.5. โรคอื่น ๆ เช่น Collagen disease : SLE, Anaphylactoid purpura, Multiple myeloma ส
4.1.2.6. เนื้องอกชนิดร้าย
4.1.2.7. สารพิษ
4.2. พยาธิสรีรภาพ
4.2.1. ผิดปกติที่ Glomerular basement membrane โดยมีการเพิ่ม permeability ทำให้โปรตีนที่มีโมเลกุลเล็กไหลรั่วผ่านออกมา
4.3. อาการ
4.3.1. มีนํ้าหนักตัวเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว บวมรอบหนังตา และหน้าในเวลาตื่นนอนเช้าและจะหายไปในเวลาบ่าย ปัสสาวะจะน้อยลงและสีเข้ม อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร กระสับกระส่าย แน่นท้อง หายใจลำ บาก ผิวหนังซีด
4.4. วินิจฉัยโรค
4.4.1. ประวัติ อาการและการตรวจร่างกาย
4.4.2. ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
4.4.2.1. ตรวจปัสสาวะ
4.4.2.2. ตรวจเลือด
4.4.2.3. ตรวจอื่น ๆ เช่น การตรวจชิ้นเนื้อของไต
4.5. ภาวะแทรกซ้อน
4.5.1. การติดเชื้อ
4.5.2. ปริมาณเลือดไหลเวียนน้อยลง
4.5.3. การอุดตันของหลอดเลือด
4.6. การรักษา
4.6.1. ลด Permeability ที่ Glomerular basement membrane โดยการให้ยาประเภทสเตียรอยด์ เช่น Prednisolone
4.6.2. ป้องกันและควบคุมสภาวะโภชนาการ
4.6.3. ลดอาการบวมหรือควบคุม
4.6.4. ป้องกันการติดเชื้อ
4.7. การพยาบาล
4.7.1. ป้องกันหรือควบคุมการติดเชื้อ
4.7.2. ป้องกันการแตกของผิวหนัง
4.7.3. ป้องกันหรือควบคุมอาการบวม
4.7.4. ป้องกัน Hypovolemia และ Hypokalemia
4.7.5. ลดการสูญเสียพลังงาน
4.7.6. เสริมสร้างภาวะโภชนาการ
4.7.7. ประคับประคองด้านจิตใจ
4.7.8. เตรียมตัวผู้ป่วยและครอบครัวในการกลับบ้าน