การพยาบาลผู้ป่วยเด็กกลุ่ม อาการโรคไต (Nephrotic syndrome

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กกลุ่ม อาการโรคไต (Nephrotic syndrome by Mind Map: การพยาบาลผู้ป่วยเด็กกลุ่ม  อาการโรคไต (Nephrotic syndrome

1. Nephrotic syndrom

1.1. ลักษณะเด่นของโรคไตเนฟโฟรติคมี 4 อย่าง คือ

1.1.1. 1.มีโปรตีนในปัสสาวะมาก (Protinuria) มากกว่า 3.5 กรัม/วัน 2. อัลบูมินในเลือดตํ่า (Hypoalbuminuria) 3. บวม (Edema) 4. ไขมันในหลอดเลือดสูง (Hypercholesterolemia)

1.2. อาการ

1.2.1. 1.อาการบวม บวมแบบกดบุ๋ม โดยระยะแรกบวมที่หนังตาและใบหน้าในตอนเช้า หายไปตอนบ่าย ถ้าเป็นมากจะบวมทั้งตัว (Anasarca) 2. มีไขมันในเลือดสูง โปรตีนในเลือดต่ำ 3. ปัสสาวะผิดปกติ คือ มีโปรตีนในปัสสาวะ 4. อาการของระบบทางเดินหายใจ หายใจลำบาก เนื่องจากมีน้ำในช่องท้อง (Ascitis) 5. อาการของระบบทางเดินอาหาร คือ เบื่ออาหาร ท้องเสียซึ่งเกิดจากมีอาการบวมของมิวโคซ่า

1.3. สาเหตุ

1.3.1. 1. หน่วยไตอักเสบเรื้องรัง 2. เกิดร่วมกับโรคอื่นๆ ได้แก่ 2.1 โรคของเนื้อเยื่อคอนเนคตีฟ เช่น เอสเอลอี (SLE) รูมาติค อาร์ไธรตีส (Rheumatic arthritis) 2.2 โรคที่เกิดกับหลายระบบของร่างกาย เช่น หลอดเลือดแดงหลายหลอดอักเสบ (Polyarteritis) 2.3 โรคติดเชื้อมักเกิดตามหลังต่อมทอนซิลอักเสบ 1-4 สัปดาห์ (โดยเฉลี่ย 10-14วัน) หรือพบในเด็กอายุตํ่ากว่า 5 ขวบ ที่เป็นแผลพุพอง หรือฝีตามตัว 2.4 จากแบคทีเรีย เช่น โรคเรื้อน 2.5 จากปาราสิต เช่น มาลาเรีย 2.6 จากไวรัส เช่น ตับอักเสบจากไวรัส บี 2.7 โรคทางเมตาบอลิซึม เช่น เบาหวาน 2.8 เนื้องอก เช่น เนื้องอกของต่อมนํ้าเหลือง หรืออาจพูดได้ว่า สาเหตุของโรคไตชนิดใดก็ตาม ที่ทำให้เกิดการรั่วของโปรตีนออกมาทางปัสสาวะเป็นจำนวนมาก ก็สามารถทำให้เกิดกลุ่มโรคเนฟโฟรติคได้

1.4. พยาธิ

1.4.1. เมื่อมีโปรตีนรั่วออกไปในปัสสาวะจำนวนมาก ร่างกายไม่สามารถสังเคราะห์อัลบูมินได้เร็วพอ จึงเกิดภาวะอัลบูมินในเลือดตํ่าลง เป็นผลให้แรงดึงดูดนํ้าในพลาสมาตํ่าลง จึงทำให้น้ำในหลอดเลือดออกไปอยู่ในช่องว่างระหว่างเซลล์ในเนื้อเยื่อ เกิดอาการบวมการที่มีน้ำออกจากหลอดเลือดมีผลทำให้จำนวนพลาสมาลดลง ร่างกายจะต้องปรับตัวให้อยู่ในภาวะปกติ โดยการกระตุ้นระบบเรนิน-แอนจิโอแทนซิน-อัลโดสเตอโรน-แอนติไดยูเรติคฮอร์โมนผลก็คือมีการดูดซึมโซเดียมกลับมาที่หลอดเลือดฝอยของไตส่วนปลายมากขึ้น

1.5. หลักการพยาบาล

1.5.1. 1.ป้องกัน หรือควบคุมการติดเชื้อ 2.ป้องกันการแตกของผิวหนัง 3.ป้องกัน หรือควบคุมอาการบวม 4.ป้องกันHypovolemiaและHypokalemia 5. ลดการสูญเสียพลังงาน ลดการทำงานของหัวใจ และลดอาการ Dyspnea 6.เสริมสร้างภาวะโภชนาการและส่งเสริมการเจริญเติบ โตและพัฒนาการของร่างกาย 7.ประคับประคองด้านจติ ใจแก่ผู้ป่วยและครอบครัว 8.เตรียมตวั ผู้ป่วยและครอบครัวในการกลับบ้าน

2. Urinary tract infection

2.1. อาการ

2.1.1. 1.แสบร้อนและปวดตอนปัสสาวะ 2.ปวดปัสสาวะบ่อยๆ 3.ยังคงรู้สึกปวดปัสสาวะ แม้ว่าจะปัสสาวะไปแล้ว 4.ปัสสาวะปริมาณน้อย 5.เหนื่อยล้า 6.ปัสสาวะมีสีขุ่นและกลิ่นแรง อาจมีเลือดปน

2.2. สาเหตุ

2.2.1. 1.ป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ 2. สังเกตภาวะแทรกซ้อน 3.เสริมสร้างความแข็งแรงและส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการของร่างกาย 4.อำนวยความสุขสบายของร่างกาย 5. สอนแนะนําด้านสุขศึกษา

2.3. พยาธิสภาพ

2.3.1. EscherichiaColiเป็นแบคทีเรียที่เป็นสาเหตุที่พบบ่อยที่สุดนอกจากน้ัน เป็นKlebsiellaและProteusซึ่งเป็นเชื้อที่มีอย่ตูามปกติในลำไส้ใหญ่และมีอยู่ จํานวนน้อยที่บริเวณท่อปัสสาวะ (Urethra) ส่วนปลาย ซึ่งคนที่มีสุขภาพปกติ ร่างกายจะมีภูมิต้านทานเฉพาะที่กระเพาะปัสสาวะโดยมีการขับสารที่เข้าใจว่า เป็นsecretory IgA ในคนปกติ เมื่อถ่ายปัสสาวะหมดแล้ว กระเพาะปัสสาวะจะหดตัวเล็กลงจนแทบไม่มีปัสสาวะเหลือค้างอยู่ทําให้เชื้อแบคทีเรียถูกฆ่าได้หมดแต่ ในผู้ที่เป็นUTIพบว่าภูมิต้านทานเฉพาะที่ดังกล่าวลดลงทําให้แบคทีเรียรวมเป็น กล่มุ (Colonization)ที่บริเวณส่วนปลายของท่อปัสสาวะแล้วแพร่กระจายไปยังส่วนอื่นๆ ของระบบปัสสาวะได้ 3 ทาง คือ เชื้อแพร่ขึ้นบนไปตามทางเดินปัสสาวะ เข้าสู่ระบบไหลเวียนเลือดและเข้าสู่หลอดนํ้าเหลืองบริเวณใกล้เคียง ทําให้เกิดการอักเสบของระบบปัสสาวะในทารกแรกเกิดเชื้อมักจะเข้าสู่ระบบปัสสาวะทางระบบ ไหลเวียนเลือด ทําให้เกิดอาการ Sepsisร่วมด้วยเสมอ

2.4. หลักการพยาบาล

2.4.1. 1.มีท่อปัสสาวะที่ค่อนข้างสั้น 2. ปัสสาวะน้อย จากการที่ดื่มน้ำปริมาณน้อยเกินไป 3. เป็นนิ่วบริเวณกรวยไต หรือการอุดกั้นทางเดินปัสสาวะ 4. การมีเพศสัมพันธ์ 5. การใช้ห่วงคุมกำเนิด หรือใช้สารทำลายเชื้ออสุจิในการคุมกำเนิด 6. วัยหมดประจำเดือน ซึ่งเป็นสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงระบบทางเดินปัสสาวะในผู้หญิง 7. การใช้สายสวนปัสสาวะในการขับปัสสาวะ 8. ได้รับการผ่าตัด หรือมีหัตถการบริเวณที่เกี่ยวข้องกับระบบทางเดินปัสสาวะในช่วงที่ผ่านมา 9. เป็นโรคเบาหวาน หรือโรคอื่นที่ทำให้ภูมิคุ้มกันในร่างกายลดลง

3. เมื่อมีการติดเชื้อในร่างกายจะมีแอนติเจนกระตุ้นให้ร่างกายสร้างแอนติบอดีหลังจากนั้นอีกระยะหนึ่งจะเกิด Antigen-antibody complex หรือ Immune-complex reaction ทํา ให้หลอดเลือดฝอยใน Glomerular ถูกทำลายโดยสารสําคัญสองชนิดคือ lysozymeและAnaphylatoxinผลที่เกิดตามมาคือการกรองของเสียและการดูดซึมกลับ ไม่เป็นไปตามปกติเกิดอาการคั่งของน้ำ และของเสีย เช่น BUN ความดันโลหิตสูง

4. 1.ป้องกันหรือควบคุมการติดเชื้อ 2.ป้องกัน หรือควบคุมอาการบวม 3. ป้องกันภาวะโปแตสเซียมสูง (Hyperkalemia) 4. ลดความดันโลหิต 5. สังเกตการณ์เกิดภาวะแทรกซ้อน 6.เสริมสร้างความแข็งแรงและส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการของร่างกาย 7.อำนวยความสุขสบายของร่างกาย 8.ประคับประคองด้านจติ ใจแก่ผู้ป่วยและครอบครัว 9. เตรียมตัวผู้ป่วยและครอบครัวในการดูแลตนเองที่บ้าน

5. Acute glomerulonephritis)

5.1. อาการ

5.1.1. 1.การปนเปื้อนของเซลล์เม็ดเลือดแดงในน้ำปัสสาวะ (Hematuria) จนกลายเป็นสีชมพู หรือสีโคล่า 2.เกิดอาการบวมน้ำที่บริเวณใบหน้า มือ เท้า หรือท้อง 3.มีความดันเลือดสูง 4.ปัสสาวะเป็นฟองเนื่องจากมีโปรตีนส่วนเกินปนออกมาในปัสสาวะ 5.อาการที่ปรากฏตามร่างกาย เช่น อ่อนล้า เหนื่อย เพลีย ปวดข้อ เป็นผื่นคัน หรือมีปัญหาระบบทางเดินหายใจ

5.2. สาเหตุ

5.2.1. การติดเชื้อโดยตรง แต่เกิดขึ้นตามหลังการติดเชื้ออื่นๆของร่างกายที่พบบ่อยคือ Pharyngitis จาก - Streptococcus gr. A. (Post-streptococcal glomerulonephritis) หรือการติดเชื้อจากผิวหนัง และการติดเชื้ออื่นๆในเดึกจะพบได้บ่อยคือ Acutepost-streptococoal glomerulonephritis

5.3. พยาธิสภาพ

5.4. หลักการพยาบาล

6. T!

7. Phimosis in childreng

7.1. อาการ

7.1.1. - มีอาการปัสสาวะลำบากร้องปวดก่อนขับถ่ายปัสสาวะ - หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศโป่ง (ballooning)ขณะเบ่งถ่ายปัสสาวะ -หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศส่วนปลายบวมแดงอักเสบอาจมีสารคัดหลั่งสีเหลือง คล้ายหนองไหลออกมาร่วมด้วย (balanoposthitis) -ลำปัสสาวะมีขนาดเลก็มากหรือถ่ายปัสสาวะเป็นหยดๆไม่พุ่ง(truephimosis) -มีไข้หนาวสั่นปัสสาวะกระปริดกระปรอยปัสสาวะมีเลือดปน(urinarytract infection , UTI) - มีก้อนนูนใต้หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ (retained smegma) - หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศติดหัวอวัยวะเพศรูดแล้วเจ็บ (preputial adhesions) - รูดหนังหุ้มปลายแล้วดันกลับไม่ได้ (paraphimosis)

7.2. สาเหตุ

7.2.1. ปัจจุบันทางการแพทย์ยังไม่ทราบสาเหตุของภาวะหนังหุ้มปลายองคชาติตีบตั้งแต่แรกเกิดที่แน่ชัด ส่วนภาวะหนังหุ้มปลายองคชาติตีบที่เกิดขึ้นตอนโตนั้นอาจมีสาเหตุมาจากการติดเชื้อบริเวณปลายองคชาตหรือผิวหนังหุ้มปลายองคชาต หรือการเกิดเนื้อเยื่อแผลเป็นบริเวณองคชาตที่ทำให้ผิวหนังสูญเสียความยืดหยุ่นและแข็งกระด้าง จึงยากต่อการดึงให้เปิดขึ้น ทั้งนี้ การมีอายุมากขึ้นอาจเป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้เสี่ยงต่อภาวะนี้มากขึ้น เนื่องจากผิวหนังหุ้มปลายองคชาตมีแนวโน้มสูญเสียความยืดหยุ่นตามอายุที่เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะผู้ที่มีองคชาตแข็งตัวได้ยาก นอกจากนี้ ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่เสี่ยงเกิดภาวะปลายองคชาตอักเสบและติดเชื้อมากกว่าคนทั่วไปก็เสี่ยงเกิดภาวะนี้ตามมาได้เช่นกันคคค

7.3. การรักษา

7.3.1. การรักษาภาวะ Phimosis นั้นขึ้นอยู่กับลักษณะและความรุนแรงของอาการ รวมถึงอายุของผู้ป่วยเป็นหลัก สำหรับผู้ป่วยเด็กที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อนใด ๆ ร่วมด้วย แพทย์จะสอนผู้ปกครองเกี่ยวกับวิธีรูดเปิดผิวหนังหุ้มปลายองคชาตให้เด็กทีละน้อยเป็นประจำทุกวันจนกระทั่งเปิดได้เป็นปกติ หากปฏิบัติตามวิธีนี้แล้วไม่ได้ผลอาจให้ผู้ป่วยใช้ยาสเตียรอยด์ชนิดทาภายนอก เพื่อช่วยให้หนังหุ้มปลายนุ่มและรูดเปิดได้ง่ายขึ้น ส่วนผู้ที่ใช้ยาหรือรักษาด้วยวิธีอื่นแล้วอาการยังไม่ดีขึ้น แพทย์อาจแนะนำให้เข้ารับการขลิบหนังหุ้มปลายซึ่งเป็นการผ่าตัดนำหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศออกและช่วยป้องกันการเกิดภาวะนี้ซ้ำ ทั้งนี้ ผู้ป่วยที่ไม่ต้องการขลิบหนังหุ้มปลายอาจเข้ารับการผ่าตัดแยกหนังหุ้มปลายองคชาตออกจากปลายองคชาตแทน แต่ผู้ที่เข้ารับการผ่าตัดด้วยวิธีนี้จะมีโอกาสเกิดภาวะหนังหุ้มปลายองคชาตตีบซ้ำได้

7.4. การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ

7.4.1. การขลิบหนังหุ้มปลายอวยัวะเพศ คือการผ่าตัดเพื่อเอาหนังหุ้มปลายของสืบพันธ์เพศชายออกไป โดยมีจุดประสงค์เพื่อการรักษาความสะอาดง่ายขึ้น หรือ การผ่าตัด เพื่อผู้ที่มีหนังหุ่มหนาเกิดไปจนไม่สามารถเปิดออกเองได้และเกิดความเจ็บปวดเวลาอวยัวะเพศแข็งตัว