การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาสุขภาพระบบปัสสาวะ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาสุขภาพระบบปัสสาวะ by Mind Map: การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาสุขภาพระบบปัสสาวะ

1. การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ

1.1. สาเหตุ

1.1.1. Escherichia Coli เป็นแบคทีเรียที่พบบ่อยสุด

1.1.2. Klebsiella และ Proteus เป็นเชื้อที่มีอยู่ตามลำไส้ใหญ่

1.2. พยาธิสภาพ

1.2.1. ผู้ที่เป็น UTI ภูมิต้านทานเฉพาะที่ที่กระเพาะปัสสาวะลดลง ทำให้เเบคทีเรียรวมเป็นกลุ่มที่บริเวณส่วนปลายของท่อปัสสาวะแล้วแพร่กระจายไปยังส่วนอื่นๆ ส่งผลให้เกิดการอักเสบของระบบปัสสาวะ

1.3. อาการ

1.3.1. น้อยกว่า 2 ปี อาจมีไข้ ตัวเหลือง อาเจียน เบื่ออาหาร ท้องเดิน เลี้ยงไม่โต

1.3.2. 2-14 ปี อาจพบมีไข้ ปัสสาวะบ่อย ปวดแสบขณะถ่ายปัสสาวะ มีกลิ่น ปวดท้องน้อยกดเจ็บ อาจถ่ายปัสสาวะเป็นเลือด

1.4. หลักการพยาบาล

1.4.1. ป้องกันหรือควคุมการติดเชื้อ

1.4.2. เสริมสร้างภาวะโภชนาการ ส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการ

1.4.3. อำนวยความสุขสบายของร่างกาย

1.4.4. สอนแนะนำด้านสุขภาพ

2. การพยาบาลผู้ป่วยเด็กหังหุ้มปลายอวัยวะเพศไม่เปิด

2.1. อาการ

2.1.1. ปัสสาวะลำบาก

2.1.2. หนังหุ้มปลายปัสสาวะโป่งพอง

2.1.3. มีไข้ หนาวสั่น ปัสสาวะกะปริดกะปรอย ปัสสาวะมีเลือดปน

2.1.4. มีก้อนนูนใต้หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ

2.1.5. หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศติดหัวอวัยวะเพศรูดแล้วเจ็บ

2.1.6. รูดหนังหุ้มปลายแล้วดันกลับไม่ได้

2.2. การรักษา

2.2.1. โดยวิธีประคับประคอง ใช้ครีม Steroid ทาบริเวณหนังหุ้มปลาย เพื่อให้มีความยืดหยุ่นดีขึ้น

2.2.2. การขลิปหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ

2.2.2.1. การผ่าตัดเพื่อเอาหนังหุ้มปลายของอวัยวะสืบพันธู์เพศชายออกไปเพื่อการรักษาความสะอาดที่ง่ายยิ่งขึ้น

2.2.2.2. ข้อบ่งชี้

2.2.2.2.1. หนังหุ้มปลายไม่เปิดที่มีลักษณะเป็นพังผืดบริเวณปลายชัดเจน

2.2.2.2.2. มีการอักเสบบริเวณปลายอวัยวะเพศ เป็นๆหายๆ

2.2.2.2.3. ทางเดินปัสสาวะอักเสบ เป็นๆหายๆ

2.2.2.2.4. ความเชื่อ ตามกลุ่มวัฒนธรรม ศาสนา และเชื้อชาติ

2.2.2.3. ข้อห้าม

2.2.2.3.1. เด็กที่มีความผิดปกติของอวัยวะเพศ

2.2.2.3.2. ทารกที่มีอายุน้อยกว่า 24 ชั่วโมง มีความผิดปกติการแข็งตัวของเลือด

2.2.2.3.3. ผู้ปกครองไม่ยินยอม

2.3. การเตรียมตัวก่อนผ่าตัด

2.3.1. เตรียมตัวหยุดโรงเรียน 3-7 วัน

2.3.2. ไม่ต้อง NPO ถ้าทำโดยการฉีดยาชา

2.3.3. งดยาต้านการอักเสบ

2.3.4. เลือกกางเกงในสีเข้ม

2.3.5. เตรียมอุปกรณ์ทำแผล

2.4. การดูแลหลังผ่าตัด

2.4.1. ทำแผลทุกวัน วันละ 1-2 ครั้ง

2.4.2. 24 ชั่วโมงแรกถ้ามีเลือดออกให้ใช้ก๊อสกดตำแหน่งนั้น 10 นาทีหรือจนกว่าเลือดจะหยุด

2.4.3. วันแรกหลังผ่าตัดอาจใช้แผ้นประคบเย็น ประคบบริเวณแผล

2.4.4. การอาบน้ำหรือใช้ฝักบัวสามารถทำได้ในวันที่ 2 หรือ 3 หลังการผ่าตัด

2.4.5. ระวังเวลาปัสสาวะอย่าให้ถูกผ้าก๊อสพันแผล

2.4.6. ทานยาแก้ปวดทุก 4 ชั่วโมง

2.4.7. ไม่ต้องตัดไหม

3. การพยาบาลผู้ป่วยเด็กกลุ่มอาการโรคไต

3.1. กลุ่มอาการ

3.1.1. โทรตีนในปัสสาวะสูง

3.1.2. โปรตีนในเลือดต่ำ โดยเฉพาะอัลบูมิน

3.1.3. บวมทั่วตัวชนิดกดบุ๋ม

3.1.4. ไขมันในเลือดสูง

3.2. สาเหตุ

3.2.1. เกิดจากความผิดปกติที่ไต

3.2.1.1. Idiopathic NS

3.2.1.2. Congenital nephrosis

3.2.1.3. Acute post infection glomerulonephritis , Chronic glomerulonephritis

3.2.2. เกิดร่วมกับโรคนระบบอื่นๆ

3.3. พยาธิสรีรภาพ

3.3.1. มีความผิดปกติที่ Glomerular basement membrane โดยมีการเพิ่มของ permeability ทำให้โปรตีนที่มีโมเลกุลเล็กไหลรั่วผ่านออกมามากขึ้น

3.4. อาการ

3.4.1. น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว

3.4.2. บวมอบหนังตา

3.4.3. ปัสสาวะน้อยสีเข้ม

3.4.4. อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร กระสับกระส่าย แน่นท้องหายใจลำบาก ผิวหนังซีด

3.5. หลักการพยาบาล

3.5.1. ป้องกันหรือควคุมการติดเชื้อ

3.5.2. ป้องกันการแตกของผิวหนัง

3.5.3. ป้องกันหรืควบคุมการบวม

3.5.4. ป้องกัน Hypovolemia และ Hypokalemia

3.5.5. ลดการสูญเสียพลังงาน

3.5.6. เสริมสร้างภาวะโภชนาการ ส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการ

4. การพยาบาลผู้ป่วยเด็กไตอักเสบเฉียบพลัน

4.1. สาเหตุ

4.1.1. เกิดขึ้นตามหลังการติดเชื้ออื่นๆของร่างกาย

4.1.2. การติดเชื้อจากผิวหนัง และการติดเชื้ออื่นๆ

4.2. อาการ

4.2.1. เริ่มมีการบวมที่หน้าหลังจากติดเชื้อปรัมาณ 7-14 วัน ต่อมาบวมขาและท้อง

4.2.2. กดไม่บุ๋ม

4.2.3. ปัสสาวะน้อยมีสีเข้ม

4.2.3.1. พยาธิสรีรภาพ

4.2.3.1.1. เมื่อมีการติดเชื้อในร่างกายจะมีแอนติเจนกระตุ้นให้ร่างกายสร้างแอนติบอดี้ขึ้น ทำให้หลอดเลือดฝอยใน Glomerular ถูกทำลายโดย Lysozyme และ Anaphylatoxin ทำให้การ กรองของเสียและการดูดซึมกลับไม่เป็นปกติ

4.2.4. ซีด กระสับกระส่าย อ่อนเพลีย

4.2.5. แน่นอึดอัดท้อง ถ่ายปัสสาวะไม่ค่อยออก

4.2.6. ความดันโลหิตสูง

4.3. หลักการพยาบาล

4.3.1. ป้องกันหรือควคุมการติดเชื้อ

4.3.2. ป้องกันหรืควบคุมการบวม

4.3.3. ป้องกันภาวะโปแตสเซียมสูง

4.3.4. เสริมสร้างภาวะโภชนาการ ส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการ

4.3.5. อำนวยความสุขสบายของร่างกาย