การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาสุขภาพระบบปัสสาวะ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาสุขภาพระบบปัสสาวะ by Mind Map: การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาสุขภาพระบบปัสสาวะ

1. การพยาบาลผู้ป่วยเด็กไตอักเสบเฉียบพลัน(Acute glomerulonephritis)

1.1. สาเหตุ

1.1.1. พบได้บ่อยในเด็กอายุระหว่าง 2-12 ปี และพบมากในเด็กชายมากกว่าเด็กหญิง 2:1

1.1.2. อักเสบของไตไม่ได้มีสาเหตุจากการติดเชื้อโดยตรง แต่เกิดขึ้นตามหลังการติดเชื้ออื่นๆ ของร่างกาย

1.2. ภาวะแทรกซ้อน

1.2.1. Hypertensive encephalopathy

1.2.2. Acute cardiac decompensation

1.2.3. Acute renal failure

1.3. หลักการพยาบาล

1.3.1. ป้องกันหรือควบคุมอาการบวม

1.3.2. ป้องกันหรือควบคุมการติดเชื้อ

1.3.3. ป้องกันภาวะโปแตสเซียมสูง (Hyperkalemia)

1.3.4. ลดความดันโลหิต

1.3.5. สังเกตการเกิดภาวะแทรกซ้อน

1.3.6. เสริมสร้างความแข็งแรงและส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการของร่างกาย

1.3.7. อำนวยความสุขสบายของร่างกาย

1.3.8. เตรียมตัวผู้ป่วยและครอบครัวในการดูแลตนเองที่บ้าน

1.3.9. ประคับประคองด้านจิตใจแก่ผู้ป่วยและครอบครัว

2. การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ. (Urinary tract infection)

2.1. อาการทางคลินิก

2.1.1. เด็กเล็กอายุตํ่ากว่า 2 ปี อาการไม่แน่นอนเช่น อาจมีไข้ ตัวเหลือง อาเจียน เบื่ออาหาร ท้องเดิน เลี้ยงไม่โต

2.1.2. เด็กอายุ 2-14 ปี อาจจะพบอาการไข้ ปัสสาวะบ่อยและปวดแสบขณะถ่ายปัสสาวะมีกลิ่น ปวดท้องน้อยกดเจ็บบริเวณชายโครงด้านหลัง อาจถ่ายปัสสาวะเป็นเลือด

2.2. ภาวะแทรกซ้อน

2.2.1. ความดันโลหิตสูง

2.2.2. ไตเสื่อมหน้าที่เกิดภาวะ Renal tubular acidosisและไตวาย

2.2.3. นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ

2.3. หลักการพยาบาล

2.3.1. เสริมสร้างความแข็งแรงและส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการของร่างกาย

2.3.2. สังเกตภาวะแทรกซ้อน

2.3.3. อำนวยความสุขสบายของร่างกาย

2.3.4. ป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ

2.3.5. สอนแนะนำ ด้านสุขศึกษา

3. การพยาบาลผู้ป่วยเด็กกลุ่มอาการโรคไต (Nephrotic syndrome)

3.1. กลุ่มอาการโรคไตเป็นกลุ่มอาการที่ประกอบด้วย

3.1.1. 1. โปรตีนในปัสสาวะสูง (Hyperalbuminuria, Massive proteinuria)

3.1.2. 2. โปรตีนในเลือดตํ่า โดยเฉพาะอัลบูมิน (Hypoproteinemia, Hypoalbuminemia, Albuminemia)

3.1.3. 3. บวมทั่วตัวชนิดกดบุ๋ม (Pitting edema)

3.1.4. 4. ไขมันในเลือดสูง (Hyperlipemia, Hypercholesterolemia)

3.2. สาเหตุ

3.2.1. 1. เกิดจากความผิดปกติที่ไต (Primary nephrotic syndrome)

3.2.1.1. Idiopathic NS เป็นสาเหตุที่พบมากที่สุดในเด็ก

3.2.1.2. Congenital nephrosis / Congenital NS

3.2.1.3. Acute post infection glomerulonephritis, chronic glomerulonephritis

3.2.2. 2. เกิดร่วมกับโรคระบบอื่น ๆ (Secondary nephrotic syndrome)

3.2.2.1. โรคติดเชื้อ

3.2.2.2. สารพิษ

3.2.2.3. ภูมิแพ้

3.2.2.4. โรคของระบบหายใจและหลอดเลือด

3.2.2.5. เนื้องอกชนิดร้าย (Malignancies)

3.3. ภาวะแทรกซ้อน

3.3.1. การติดเชื้อ

3.3.2. ปริมาณเลือดไหลเวียนน้อยลง (Circulatory insufficiency)

3.3.3. การอุดตันของหลอดเลือด (Thromboembolism)

3.4. หลักการพยาบาล

3.4.1. เสริมสร้างภาวะโภชนาการและส่งเสริมการเจริญเติบโต และพัฒนาการของร่างกาย

3.4.2. ป้องกันการแตกของผิวหนัง

3.4.3. ลดการสูญเสียพลังงาน ลดการทำ งานของหัวใจ

3.4.4. เตรียมตัวผู้ป่วยและครอบครัวในการกลับบ้าน

3.4.5. ประคับประคองด้านจิตใจแก่ผู้ป่วยและครอบครัว

3.4.6. ป้องกันหรือควบคุมการติดเชื้อ

3.4.7. ป้องกันหรือควบคุมอาการบวม

4. การพยาบาลผู้ป่วยเด็กหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศไม่เปิด (Phimosis in children)

4.1. เป็นภาวะที่พบบ่อยในเด็กเพศชาย หมายถึงภาวะที่ไม่สามารถรูดหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ (foreskin , prepuce) กลับมาทางด้านหลังหัวของอวัยวะเพศได้

4.2. อาการผิดปกติต่างๆ

4.2.1. มีอาการปัสสาวะลำบาก

4.2.2. หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศโป่ง (ballooning)ขณะเบ่งถ่ายปัสสาวะ

4.2.3. ลำปัสสาวะมีขนาดเล็กมาก

4.2.4. มีไข้ หนาวสั่น ปัสสาวะกระปริดกระปรอย ปัสสาวะมีเลือดปน

4.2.5. มีก้อนนูนใต้หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ (retained smegma)

4.2.6. หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศติดหัวอวัยวะเพศรูดแล้วเจ็บ (preputial adhesions)

4.2.7. รูดหนังหุ้มปลายแล้วดันกลับไม่ได้ (paraphimosis)

4.3. การรักษาหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศไม่เปิด

4.3.1. การรักษาโดยวิธีประคับประคอง

4.3.2. การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ (circumcision)

5. นางสาววรรณา สมปาง ชั้นปีที่ 2 เลขที่ 74