ระบบคอมพิวเตอร์

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ระบบคอมพิวเตอร์ by Mind Map: ระบบคอมพิวเตอร์

1. คุณลักษณะของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง

1.1. หน่วยรับข้อมูล

1.1.1. อุปกรณ์รับเข้าแบบกด

1.1.1.1. แป้นพิมพ์ (Keyboard) เป็นอุปกรณ์ส าหรับน าเข้าข้อมูลขั้นพื้นฐานท าหน้าที่เชื่อม ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับระบบคอมพิวเตอร์

1.1.2. อุปกรณ์รับเข้าแบบชี้ตำแหน่ง

1.1.2.1. เมาส์(Mouse) เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยให้การใช้งานง่ายขึ้นด้วยการใช้เมาส์เลื่อนตัวชี้ไปยังตำแหน่ง ต่าง ๆ บนจอภาพ

1.2. หน่วยประมวลผลกลาง

1.2.1. หน่วยควบคุม(Control Unit : CU) ท าหน้าที่ควบคุมการทำงาน ควบคุมการเขียนอ่านข้อมูล ระหว่างหน่วยความจำของซีพียู

1.2.2. หน่วยคำนวณและตรรกะ(Arithmetic and Logic Unit : ALU) ทำหน้าที่คำนวณทางเลขคณิต ได้แก่ การบวก ลบ คูณ หาร

1.3. หน่วยความจำ

1.3.1. ตามแผนภาพด้านบนหน่วยความจำของเครื่องคอมพิวเตอร์มีการจัดโครงสร้างเป็นแบบลำดับชั้น ซึ่ง ชั้นสูงสุดและอยู่ใกล้กับโปรเซสเซอร์มากที่คือ รีจีสเตอร์(Register)ที่อยู่ภายในโปรเซสเซอร์ จากนั้นลงมาก็เป็น หน่วยความจ าแคช(Cache) หนึ่งหรือสองระดับ

1.3.1.1. รีจิสเตอร์(Register)

1.3.1.2. แคช(Cache)

1.3.1.3. หน่วยความจำหลักแบบแก้ไขได้(Random-Access Memory : RAM)

1.3.1.4. หน่วยความจำหลักแบบอ่านได้อย่างเดียว(Read Only Memory : ROM)

1.3.1.5. หน่วยความจำสำรอง

1.4. หน่วยแสดงผล

1.4.1. เป็นส่วนที่แสดงข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ไปสู่มนุษย์ เราเรียกเครื่องมือในส่วนนี้ว่า อุปกรณ์แสดงผล (Output Devices)

1.4.1.1. จอภาพ(Monitor)

1.4.1.2. เครื่องพิมพ์ (Printer)

1.4.1.3. พลอตเตอร์ (Plotter)

1.5. เมนบอร์ด

1.5.1. เป็นหัวใจส าคัญที่สุดที่อยู่ภายในเครื่อง เมื่อเปิดฝาเครื่องออกมาจะเป็นแผงวงจรขนาดใหญ่วางอยู่ นั่น คือส่วนที่เรียกว่า"เมนบอร์ด"ส่วนประกอบหลักที่ส าคัญบนเมนบอร์ด คือ

1.5.1.1. 1) ซ็อคเก็ตซีพียู(CPU socket) หรือสล็อตซีพียู (CPU slot)

1.5.1.2. 2) ชิปเซ็ต(Chip set)

1.5.1.3. 3) ช่องส าหรับติดตั้งหน่วยความจ า(Memory slot)

1.5.1.4. 4) ระบบบัสและช่องส าหรับติดตั้งอุปกรณ์ต่างๆ(Bus & Expansion slot)

1.5.1.5. 5) Bios (Basic Input/Output System)

1.5.1.6. 6) ถ่านหรือแบตเตอรี่

1.5.1.7. 7) ขั้วต่อสายแหล่งจ่ายไฟ (Power Connector)

1.5.1.8. 8) ขั้วต่อสวิทช์และไฟหน้าเครื่อง (Front Panel Connector)

1.5.1.9. 10) ขั้วต่อส าหรับหน่วยความจ าส ารอง

1.5.1.10. 11) พอร์ตอนุกรมและพอร์ตขนาน(Serial port & Parallel port)

1.5.1.11. 12) พอร์ตคีย์บอร์ดและเมาส์

1.5.1.12. 13) พอร์ตUSB

1.5.1.13. 14) Form Factor

1.6. 3. ซอฟต์แวร์

1.6.1. ซอฟต์แวร์ หมายถึง โปรแกรมหรือชุดข้อมูลคำสั่งต่างๆ ที่สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ท างานตามวัตถุประสงค์ ซอฟต์แวร์จึงรวมถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ทุกประเภทที่ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้

1.6.1.1. ภาษาคอมพิวเตอร์

1.6.1.1.1. ภาษาเครื่อง

1.6.1.1.2. ภาษาแอสเซมบลี(Assembly Languages)

1.6.1.1.3. ภาษาระดับสูง (High-Level Languages)

1.6.1.1.4. ภาษายุคที่4 (Fourth-Generation Languages: 4GL)

1.6.1.1.5. ภาษาเชิงวัตถุ(Object-Oriented Languages)

1.6.2. ประเภทของซอฟต์แวร์ สามารถแบ่งออกได้เป็น2 ประเภท ได้แก่

1.6.2.1. ซอฟต์แวร์ระบบ คือ ซอฟต์แวร์ที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นมาเพื่อใช้จัดการกับระบบคอมพิวเตอร์ทำ หน้าที่ดำเนินงานพื้นฐานต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์

1.6.2.1.1. ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการ (Operating System: OS) เป็นซอฟต์แวร์ใช้ในการดูแลระบบคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมีระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้กันมากและเป็นที่รู้จักกันดี

1.6.2.1.2. ตัวแปลภาษา(Translator Program) ในการพัฒนาซอฟต์แวร์จ าเป็นต้องมีซอฟต์แวร์ที่ใช้ใน การแปลภาษาระดับสูงเพื่อแปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง

1.6.2.2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้กับงานด้านต่าง ๆ ตามความต้องการของผู้ใช้ที่สามารถ นำมาใช้ประโยชน์ได้โดยตรง เราอาจแบ่งซอฟต์แวร์ประยุกต์ออกเป็นสองกลุ่ม

2. การใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับงาน

2.1. การใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับงาน

2.1.1. 4.1.1 เลือกใช้คอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมกับหน่วยงาน

2.1.1.1. คอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทในงานด้านต่าง ๆ ทั้งที่เป็นหน่วยงานราชการ องค์กรต่างๆและธุรกิจขนาด เล็ก กลาง หรือใหญ่ โดยเลือกใช้ระบบคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมกับหน่วยงานหรือองค์กรนั้น

2.1.2. 4.1.2 การเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์

2.1.2.1. การเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อน ามาใช้ในระบบงาน ต้องสามารถรองรับการขยายตัวของระบบ งานในอนาคตสิ่งที่ควรพิจารณา ในการเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์มาใช้งาน คือ

2.1.2.1.1. 1. ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) เหมาะกับธุรกิจขนาดเล็กจนถึงขนาดกลาง เนื่องจาก เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่มีประสิทธิภาพสูง ราคาไม่แพง

2.1.2.1.2. 2. มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) เหมาะกับธุรกิจขนาดกลาง มีระบบการเก็บข้อมูลที่ดีกว่า ไมโครคอมพิวเตอร์จึงเหมาะกับข้อมูลที่ไม่เปลี่ยนแปลงบ่อยนัก ราคาเครื่องสูงกว่าไมโครคอมพิวเตอร์

2.1.2.1.3. เมนเฟรม (Mainframe) และ ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer) เหมาะกับธุรกิจขนาด ใหญ่ ท าหน้าที่เป็นคอมพิวเตอร์ศูนย์กลาง

2.2. การเลือกโปรแกรมคอมพิวเตอร์

2.2.1. การเลือกโปรแกรมส าหรับคอมพิวเตอร์โปรแกรมแรกคือระบบปฏิบัติการ ต้องให้เหมาะสมกับระบบ คอมพิวเตอร์และต้องเป็นโปรแกรมที่ถูกต้องตามลิขสิทธิ์ขั้นตอนในการเลือกโปรแกรมให้เหมาะสมกับลักษณะ ของงานมีดังนี้

2.2.1.1. 1. ตรงกับความต้องการ สามารถท างานได้ตรงตามความต้องการของผู้ใช้ 2. มีประสิทธิภาพ สามารถจัดการกับข้อมูลได้ดี การแสดงผล การประมวลผลรวดเร็วและถูกต้อง 3. ง่ายต่อการใช้งาน สามารถเรียนรู้วิธีการใช้งานได้ง่ายและมีเมนูช่วยเหลือในระหว่างการใช้งาน 4. มีความยืดหยุ่น สามารถใช้ได้กับระบบปฏิบัติการที่แตกต่างกัน สามารถรับส่งข้อมูลกับโปรแกรม อื่น ๆ ได้ รวมทั้งสามารถใช้งานกับอุปกรณ์แสดงผลได้หลายชนิด เช่น จอภาพ เครื่องพิมพ์ 5. คู่มือการใช้งานที่มีคุณภาพ สามารถอธิบายหรือให้ค าแนะน าต่อผู้ใช้งานเมื่อเกิดปัญหาขึ้น 6. การรับรองผลิตภัณฑ์ ผู้ผลิตหรือผู้ขายรับรองผลิตภัณฑ์ของตน มีบริการให้ค าปรึกษาเมื่อมีปัญหา จากการใช้ผลิตภัณฑ์ให้บริการ Upgrade ฟรี

3. องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์

3.1. ฮาร์ดแวร์

3.1.1. ตัวเครื่องและอุปกรณ์ต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ทุก ๆ ชิ้น รวมถึงอุปกรณ์ภายนอก (Peripheraldevice) อื่นๆ เช่น จอภาพ แป้นพิมพ์ เมาส์ เครื่องพิมพ์ฮาร์ดดิสก์ แผงวงจรหลัก (Mainboard) แรม การ์ดจอ ซีพียู เป็นต้น

3.2. ซอฟต์แวร์

3.2.1. โปรแกรมหรือชุดข้อมูลค าสั่งต่าง ๆ ที่สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ท างานตามวัตถุประสงค์

3.3. บุคลากร

3.3.1. ผู้ใช้งานหรือผู้ที่ท างานอยู่กับเครื่องคอมพิวเตอร์รวมถึงโปรแกรมเมอร์นักวิเคราะห์ ระบบ และอื่นๆ

4. หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์

4.1. หน่วยรับข้อมูล

4.1.1. หน่วยรับข้อมูลเป็นส่วนแรกที่ติดต่อกับผู้ใช้ หน้าที่หลักคือ ตอบสนองการสั่งงานจากผู้ใช้แล้วรับเป็น สัญญาณข้อมูลส่งต่อไปจัดเก็บหรือพักไว้ที่หน่วยความจำซึ่งอุปกรณ์ที่ท าหน้าที่เป็นหน่วยรับข้อมูลมีมากมาย เช่น Mouse, Keyboard, Joystick, Touch Pad เป็นต้น

4.2. หน่วยประมวลผล

4.2.1. หน่วยประมวลผลถือเป็นส่วนที่สำคัญที่สุดของเครื่องคอมพิวเตอร์ เปรียบได้กับสมองของมนุษย์ หน้าที่หลัก ของหน่วยนี้คือนำเอาข้อมูลที่ถูกจัดเก็บหรือพักไว้ในหน่วยความจำมาทำการคิดคำนวณประมวลผลข้อมูลทาง คณิตศาสตร์(Arithmetic Operation) และเปรียบเทียบข้อมูลทางตรรกศาสตร์(Logical Operation) จนได้

4.3. หน่วยความจำ

4.3.1. หน่วยความจ าเป็นหน่วยที่สำคัญที่จะต้องทำงานร่วมกันกับหน่วยประมวลผลอยู่โดยตลอด หน้าที่หลักคือ จดจำและบันทึกข้อมูลต่างๆที่ถูกส่งมาจากหน่วยรับข้อมูล จัดเก็บไว้ชั่วคราว ก่อนที่จะส่งต่อไปให้หน่วย ประมวลผล

4.4. หน่วยแสดงผล

4.4.1. หน่วยแสดงผลเป็นหน่วยที่ใช้ในการแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกมาในรูปแบบต่างๆ กันตามแต่ละอุปกรณ์