องค์ประกอบศิลป์

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
องค์ประกอบศิลป์ by Mind Map: องค์ประกอบศิลป์

1. น้ำหนักอ่อนแก่

1.1. เป็นผลมาจากแสงสว่างในธรรมชาติ

1.2. แสงที่มนุษย์สร้างขึ้น

1.3. ทำให้ปรากฏปริมาตรของรูปทรงวัตถุ

1.4. มิติของน้ำหนัก

1.4.1. แบบ 2 มิติ

1.4.1.1. ความกว้างและความยาว

1.4.2. แบ 3 มิติ

1.4.2.1. แสดงความกว้าง ยาว ลึก

1.5. ระดับความแตกต่างของน้ำหนัก

1.6. ค่าของน้ำหนัก

1.6.1. 1.ค่าน้ำหนักจริง

1.6.1.1. น้ำหนักที่เกิดขึ้นจริงจากแสงสว่างและเงาจริง

1.6.2. 2ค่าน้ำหนักลวงตา

1.6.2.1. ค่าน้ำหนักสร้างขึ้น

1.6.2.2. มีลักษณะ 2 มิติและ 3 มิติ

1.6.2.3. พบงานจิตรกรรม

1.6.2.4. ศิลปะภาพพิมพ์

1.6.2.5. และงานออกแบบต่างๆ

1.6.2.6. ปรากฏบนพื้นระนาบ กระดาษหรือผ้าใบ

2. สี

2.1. ชนิดของสี

2.1.1. สีที่เป็นแสง

2.1.1.1. ค้นพบโดย เซอร์ ไอแซค นิวตัน

2.1.1.2. ไ้ทดลองให้แสงผ่านแท่งแก้วปริซึมและเกิดการหักเหของแสงแยกสีในแสงออกมาเป็น 7 สี

2.1.1.3. แดง

2.1.1.4. ส้ม

2.1.1.5. เหลือง

2.1.1.6. เขียว

2.1.1.7. น้ำเงิน

2.1.1.8. ม่วงน้ำเงิน

2.1.1.9. ม่วง

2.1.2. สีที่เป็นวัตถุหรือเนื้อสี

2.1.2.1. ดิน หิน พืช ผัก สัตว์ หรือนำมาผสมเพื่อสงเคราะห์ใหม่

2.2. แสงสว่างกับความคมชัดของวัตถุ

2.2.1. แสงจากธรรมชาติ

2.2.1.1. ดวงอาทิตย์

2.2.1.2. ดวงจันทร์

2.2.2. แสงประดิษฐ์

2.2.2.1. จากหลอดไฟ

2.3. วงจรสี

2.3.1. สีขั้นที่1

2.3.1.1. แดง

2.3.1.2. เหลือง

2.3.1.3. น้ำเงิน

2.3.2. สีขั้นที่2

2.3.2.1. แดง+เหลือง

2.3.2.1.1. ส้ม

2.3.2.2. เหลือง+น้ำเงิน

2.3.2.2.1. เขียว

2.3.2.3. น้ำเงิน+แดง

2.3.2.3.1. ม

2.3.3. สีขั้นที่3

2.3.3.1. เหลือง+ส้ม

2.3.3.1.1. เหลืองส้ม

2.3.3.2. ส้ม+แดง

2.3.3.2.1. ส้มแดง

2.3.3.3. แดง+ม่วง

2.3.3.3.1. แดงม่วง

2.3.3.4. ม่วง+น้ำเงิน

2.3.3.4.1. ม่วงน้ำเงิน

2.3.3.5. น้พเงิน+เขียว

2.3.3.5.1. น้ำเงินเขียว

2.3.3.6. เขียว+เหลือง

2.3.3.6.1. เขียวเหลือง

2.4. สีคู่ประกอบ

2.4.1. แดงกับเขียว

2.4.2. ส้มกับน้ำเงิน

2.4.3. เหลืองกับม่วง

2.4.4. เหลืองส้มกับม่วงน้ำเงิน

2.4.5. ส้มแดงกับน้ำเงินเขียว

2.4.6. ม่วงแดงกับเหลืองเขียว

3. พื้นผิว

3.1. บริเวณผิวนอกของสิ่งต่างๆที่ปรากฎให้เห็น

3.2. รด้วยการสัมผัสทางตาและกายสัมผัส

3.3. การเกิดของพื้นผิว

3.3.1. เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ

3.3.2. เดขึ้นโดยมนุษย์สร้างขึ้น

3.3.3. เขึ้นโดยกระบวนการผลิตของเครื่องจักร

3.3.3.1. พื้นผิวล้อธรรมชาติ

3.3.3.2. พ้นผิวสร้างขึ้นใหม่

3.4. ลักษณะของพื้นผิว

3.4.1. พื้นผิวจริง

3.4.1.1. จับต้องได้

3.4.1.2. เปลือกของต้นไม้

3.4.1.3. ใบไม้

3.4.1.4. ก้อนกรวด

3.4.1.5. ผลไม้

3.4.1.6. ผิวหนังของมนุษย์

3.4.2. พื้นผิวเทียม

3.4.2.1. รับรู้ได้โดยการมองเห็น

4. รูปร่าง

4.1. ประเภทของรูปร่าง

4.1.1. รูปร่างธรรมชาติ

4.1.1.1. คน

4.1.1.2. สัตว์

4.1.1.3. พืช

4.1.2. รูปร่างเรขาคณิต

4.1.2.1. มีโครงสร้างแน่นอน

4.1.2.2. รูปร่างวงกลม

4.1.2.3. รูปร่างสามเหลี่ยม

4.1.3. รูปร่างนามธรรม

4.1.3.1. รูปร่างที่ถูกเปลี่ยนแปลงหรือตัดทอน

5. จุด

5.1. พลังการเคลื่อนไหวของจุด

5.2. การเกิดจุด

5.2.1. 1เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ

5.2.2. 2. เกิดจากมนุษย์สร้างขึ้น

6. เส้น

6.1. คำจำกัดความของเส้น

6.1.1. 1.ทางเรขาคณิต

6.1.1.1. เส้นเกิดจากจุดจำนวนมากมายนับไม่ถ้วน

6.1.2. 2.ทางศิลปะ

6.1.2.1. เกิดจากการ ขูด ขีด ลาก ถู ระบาย

6.1.2.2. ด้วยเครื่องมือ เช่น ดินสอ พู่กัน ปากกา

6.2. เส้นพื้นฐาน

6.2.1. 1เส้นตรง

6.2.2. 2.เส้นโค้ง

6.3. รูปแบบของเส้น

6.3.1. 1เส้นแบบเรขาคณิต

6.3.1.1. มีเส้นแน่นอนตายตัว

6.3.1.1.1. เขียนด้วย ไม้บรรทัด

6.3.1.1.2. วงวียน

6.3.1.1.3. ดินสอ

6.3.1.1.4. ไม้ฉากสามเหลี่ยม

6.3.1.1.5. ใหักษณะ กลม

6.3.2. เส้นแบบลายมือ

6.3.2.1. การขีด เขียน ตวัด

6.4. ชนิดของเส้น

6.4.1. 1.เส้นแท้จริง

6.4.1.1. แสดงความคม ชัด ในงานศิลปะ

6.4.1.2. เช่น ตรง โค้ง ซิกแซก

6.4.1.3. ประกอบขึ้นเป็นรูปร่างรูปทรง

6.4.2. 2.เส้นโดยนัย

6.4.2.1. เส้นที่ขาดหายไปบางส่วน

6.4.3. 3.เส้นไม่มีตัวตน

6.4.3.1. เส้นโดยจิต

6.4.3.1.1. สามารถรับรู้ได้ด้วยความรูัสึกทางสมอง

6.5. ความรู้สึกของเส้น

6.5.1. เส้นตรง

6.5.1.1. แข็งแรง แน่นอน

6.5.2. เส้นตั้ง

6.5.2.1. มั่นคง จริงจัง

6.5.3. เส้นนอนราบ

6.5.3.1. เงียบ สงบ

6.5.4. เส้นเฉียง

6.5.4.1. ไม่แน่นอน เคลื่อนไหว

6.5.5. เส้นซิกแซก

6.5.5.1. สับสน วุ่นวาย

6.5.6. เส้นโค้ง

6.5.6.1. อ่อนหวาน นุ่มนวล

6.5.7. เส้นคลื่น

6.5.7.1. เย้ยยวน ความเป็นผู้หญิง

6.5.8. เส้นโค้งก้นหอย

6.5.8.1. หมุนเวียน คลี่คลาย

7. บริเวณว่าง

7.1. ลักษณะของบริเวณว่าง

7.1.1. บริเวณว่างจริง

7.1.1.1. ปรากฎในงานประติมากรรม

7.1.1.2. สถาปัตยกรรม

7.1.2. บริเวณว่างลวงตา

7.1.2.1. ปรากฎอยู่ในงานจิตรกรรม

7.1.2.2. ศิลปะภาพพิมพ์

7.1.2.3. เป็นบริเวณว่าง 3 มิติ

7.1.2.4. แสดงความกว้าง ยาว และความลึก

7.2. มิติของบริเวณว่าง

7.2.1. บริเวณว่าง 2 มิติ

7.2.1.1. กว้างและยาว

7.2.2. บริเวณว่าง 3 มิติ

7.2.2.1. กว้าง ยาว และลึก

7.3. บริเวณว่าง

7.3.1. บวก

7.3.1.1. กำหนดขึ้นด้วยเส้น สี น้ำหนัก ให้เป็นรูปร่างรูปทรง

7.3.2. ลบ

7.3.2.1. ปรากฎอยู่รอบรูปร่างรูปทรง

7.3.3. กลาง

7.3.3.1. ยังไม่มีรูปร่างรูปทรงใดๆปรากฎ

7.3.4. 2 นัย

7.3.4.1. มีความสำคัญเท่าเทียมกัน

8. รูปทรง

8.1. ประเภทของรูปทรง

8.1.1. รูปทรงจากสิ่งมีชีวิต

8.1.1.1. คน

8.1.1.2. สัตว์

8.1.1.3. พืช

8.1.2. รูปทรงอิสระ

8.1.2.1. เกิดขึ้นเองอย่างอิสระไม่มีโครงสร้างแน่นอน

8.1.2.2. กรวด

8.1.2.3. ก้อนหิน ดิน

8.1.2.4. หยดน้ำ

8.1.2.5. ก้อนเมฆ

8.1.2.6. ควันไฟ