1. เพื่อใช้ติดต่อสื่อสารระหว่างระบบที่มีความแตกต่างกัน
2. ความสามารถในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในระบบเครือข่าย เช่นในกรณีที่ผู้ ส่งและผู้รับยังคงมีการติดต่อกันอยู่ แต่โหนดกลางทีใช้เป็นผู้ช่วยรับ-ส่งเกิด
3. มีความคล่องตัวต่อการสื่อสารข้อมูลได้หลายชนิดทั้งแบบที่ไม่มีความเร่งด่วน เช่น การจัดส่งแฟ้มข้อมูล และแบบที่ต้องการรับประกันความเร่งด่วนของ ข้อมูล เช่น การสื่อสารแบบ real-time และทั้งการสื่อสารแบบเสียง
4. 3.3.2 โพรโตคอล FTP (File Transfer Protocal)
4.1. การถ่ายโอนไฟล์หรือเรียกได้อีกอย่างว่า การ คัดลอกแฟ้มข้อมูลบนเครือข่าย คือ การโอนย้ายแฟ้มข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ระบบหนึ่งมายัง
5. 3.3.2.1 ประเภทของการล็อกอินในบริการ FTP
5.1. ล็อกอินด้วยผู้ใช้ที่มีอยู่ในระบบ (Real FTP) ผู้ใช้บริการจะต้องมีบัญชีผู้ใช้อยู่จริงบน เซิร์ฟเวอร์สามารถเปลี่ยนไดเร็คทอรี่ไปที่อื่นได้
5.2. ล็อกอินด้วยผู้ใช้ที่มีอยู่ในระบบแต่จํากัดขอบเขต (Guest FTP) คล้ายกับ Real FTP ต่าง ตรงที่ ไม่สามารถเปลี่ยนไดเร็คทอรีไปไหนได้เกินขอบเขตที่เซิร์ฟเวอร์กําหนด
5.3. ล็อกอินด้วยผู้ใช้ที่ไม่มีอยู่ระบบ (Anonymous FTP) การบริการ FTP แบบที่เปิดเสรีให้ คนท่วโลกมาใช ั ้บริการคงเป็นไปไม่ได้ที่จะมานั่งสร้างบัญชีผู้ใช้ให้รอบรับคนทั่วโลกแบบนี้ จึงกําหนดให้ล็อกอินโดยใช้ชื่อ anonymous ส่วนรหัสผ่าน E-Mail Address
6. ประเภทของคอมพิวเตอร์
6.1. LAN (Local Area Network)
6.1.1. ระบบเครื่องข่ายท้องถิ่น เป็นเน็ตเวิร์กในระยะทางไม่เกิน 10 กิโลเมตร ไม่ต้องใช้โครงข่าย การสื่อสารขององค์การโทรศัพท์เป็นระบบเครือข่ายที่อยู่ภายในอาคารเดียวกันหรือต่างอาคารใน
6.2. MAN (Metropolitan Area Network)
6.2.1. ระบบเครือข่ายเมือง เป็นเน็ตเวิร์กที่จะต้องใช้โครงข่ายการสื่อสารขององค์การโทรศัพท์ หรือการสื่อสารแห่งประเทศไทย เป็นการติดต่อกันในเมือง เช่น เครื่องเวิร์กสเตชั่นอยู่ที่สุขุมวิท
6.3. WAN (Wide Area Network)
6.3.1. ระบบเครือข่ายกว้างไกล หรือเรียกได้ว่าเป็น World Wide ของระบบเน็ตเวิร์ก โดยจะเป็น การสื่อสารในระดับประเทศ ข้ามทวีปหรือทั่วโลก
7. 3.2โพรโตคอล(Protocol)
7.1. 1. ชั้นกายภาพ (physical layer)
7.1.1. ทําหน้าที่แปลงข้อมูลในรูปของสัญญาณดิจิทัลให้ผ่านตัวกลางแต่ละชนิดได้
7.2. 2. ชั้นเชื่อมโยงข้อมูล(data link layer)
7.2.1. ทําหน้าที่เสมือนเป็นผู้บริการส่ง ข้อมูล คือ ส่งข้อมูลผ่านทางสายส่งโดยมีกระบวนการตรวจสอบความผิดพลาดของข้อมูลอันเนื่องมาจาก สัญญาณรบกวนที่เกิดในสายส่ง รวมทั้งมีการแก้ไขความผิดพลาดดังกล่าวด้วย เป็นชั้นที่ควบคุมความ
7.3. 3.ชั้นเครือข่าย(network layer)
7.3.1. ทําหน้าที่ควบคุมการส่งผ่านข้อมูล ระหว่างต้นางและปลายทางโดยผ่านจุดต่างๆ บนเครือข่ายให้เป็นไปตามเส้นทางที่กําหนด รวบรวมและ
7.4. 4. ชั้นขนส่ง(transport layer)
7.4.1. เป็นชั้นของการตรวจสอบและควบคุมการส่ง ข้อมูลระหว่างเครื่องต้นทางและเครื่องปลายทางให้ถูกต้อง
7.5. 5. ชั้นส่วนงาน(session layer)
7.5.1. ทําหน้าที่สร้างการติดต่อระหว่างเครื่องต้น ทางและปลายทาง ตลอดจนดูแลการส่งข้อมูลระหว่างเครื่องทั้งสองให้ถูกต้องและมีประสิทธิภาพโดย กําหนดขอบเขตการรับ-ส่ง คือกําหนดจุดผู้รับและผู้ส่งโดยจะเพิ่มเติมรูปแบบการรับ-ส่ง ข้อมูล
7.6. 6. ชั้นการนําเสนอข้อมูล (presentation layer)
7.6.1. จะแปลงข้อมูลที่ส่งมาให้ อยู่ในรูปแบบที่โปรแกรมของเครื่องผู้รับเข้าใจ รวมทั้งการจัดรูปแบบและนําเสนอข้อมูลโดยกําหนดรูปแบบ ภาษา ชนิด
7.7. 7. ชั้นการประยุกต์ (application layer)
7.7.1. เป็นส่วนติดต่อระหว่างโปรแกรม ประยุกต์ของเครือข่ายผู้ใช้ โดยคอมพิวเตอร์จะแปลงข้อมูลที่ได้รับเข้าสู่ระบบ เช่น การเข้าใช้งานระบบ
7.7.2. เป็นส่วนติดต่อระหว่างโปรแกรม ประยุกต์ของเครือข่ายผู้ใช้ โดยคอมพิวเตอร์จะแปลงข้อมูลที่ได้รับเข้าสู่ระบบ เช่น การเข้าใช้งานระบบ
7.8. 1. ชั้นโฮสต์-เครือข่าย (Host-to-network)
7.8.1. โพรโตคอลสําหรับการควบคุมการสื่อสารในชั้นนี้ เป็นสิ่งที่ไม่มีการกําหนดรายละเอียดอย่างเป็นทางการหน้าที่หลักคือการรับข้อมูลจากชั้น สื่อสาร IP
7.9. 2. ชั้นสื่อสารอินเตอร์เน็ต (The Internet Layer)
7.9.1. ใช้ประเภทของระบบการสื่อสารที่เรียกว่า ระบบเครือข่ายแบบสลับช่องสื่อสารระดับแพ็กเก็ต (packet-switching network)
7.10. 3. ชั้นสื่อสารนําส่งข้อมูล (Transport Layer)
7.10.1. แบ่งเป็นโพรโตคอล 2 ชนิดตามลักษณะ ลักษณะ แรกเรียกว่า Transmission Control Protocol (TCP) เป็นแบบที่มีการกําหนดช่วงการ สื่อสารตลอดระยะเวลาการสื่อสาร (connection-oriented) ซึ่งจะยอมให้มีการส่งข้อมูล
7.11. 4. ชั้นสื่อสารการประยุกต์ (Application Layer)
7.11.1. มีโพรโตคอลสําหรับสร้างจอเทอร์มินัลเสมือน เรียกว่า TELNET โพรโตคอลสําหรับการจัดการแฟ้มข้อมูล เรียกว่า FTP และโพรโตคอล