1. รูปร่างเครือข่าย
1.1. คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์รับ-ส่งข้อมูลที่ประกอบกันเป็นเครือข่าย มีการเชื่อมโยงถึงกันใน รูปแบบต่างๆ ตามความเหมาะสม เทคโนโลยีการออกแบบเชื่อมโยงนี้เรียกว่า รูปร่างเครือข่าย (Network Topology) โทโปโลยีคือลักษณะทางกายภาพ (ภายนอก) ของเครือข่าย
1.2. 3.4.1 การเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุด (point-to-point)
1.2.1. โดยใช้สื่อกลางหรือช่องทางในการ สื่อสารช่องทางเดียวเป็นการจองสายในการ ส่งข้อมูลระหว่างกันโดยไม่มีการใช้งาน สื่อกลางนั้นร่วมกับอุปกรณ์ชิ้นอื่นๆ
1.2.2. 3.4.2 การเชื่อมต่อแบบหลายจุด(multipoint)
1.2.2.1. การเชื่อมต่อแบบหลายจุด(multipoint)เป็นการใช้งานช่องทางการสื่อสารเต็มประสิทธิภาพ มากขึ้นโดยการเชื่อมต่อลักษณะนี้จะใช้ช่องทางการสื่อสารหนึ่งช่องทางเชื่อมต่อเข้ากับเครื่อง คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์สื่อสารหลายชิ้น โดยมีจุดเชื่อมแยกออกมาจากสายหลักดังต่อไปนี้
1.2.2.2. อุปกรณ์เครือข่าย
1.2.2.2.1. ทําหน้าที่ในการเชื่อมคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานอยู่นั้นเข้ากับระบบเครือข่ายได้เช่น ในระบบ แลน เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในเครือข่ายจะต้องมีการ์ดเครือข่ายที่เชื่อมโยงด้วย สายเคเบิลจึงสามารถทําให้เครื่องติดต่อกับเครือข่ายได้ส่วนในกรณีเป็นระบบแลนไร้ สาย ก็จะต้องใช้การ์ดแลนแบบไร้สาย
1.2.2.2.2. ฮับ
2. ประเภทเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.1. 3.1.1 LAN (Local Area Network)
2.1.1. ระบบเครื่องข่ายท้องถิ่น เป็นเน็ตเวิร์กในระยะทางไม่เกิน 10 กิโลเมตร
2.2. MAN (Metropolitan Area Network)
2.2.1. ระบบเครือข่ายเมือง เป็นเน็ตเวิร์กที่จะต้องใช้โครงข่ายการสื่อสารขององค์การโทรศัพท์ หรือการสื่อสารแห่งประเทศไทย
2.3. WAN (Wide Area Network)
2.3.1. ระบบเครือข่ายกว้างไกล หรือเรียกได้ว่าเป็น World Wide ของระบบเน็ตเวิร์ก โดยจะเป็น การสื่อสารในระดับประเทศ ข้ามทวีปหรือทั่วโลก
3. 3.2โพรโตคอล(Protocol)
3.1. คือ ข้อกําหนดหรือข้อตกลงที่ใช้ควบคุมการสื่อสารข้อมูลในเครือข่าย ไม่ว่าจะ เป็นการสื่อสารข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์หรือระหว่างคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์อื่นๆ
3.1.1. มาตรฐานของโพรโตคอล 7 ชั้น
3.1.1.1. 1. ชั้นกายภาพ (physical layer)ทําหน้าที่แปลงข้อมูลในรูปของสัญญาณ ดิจิทัลให้ผ่านตัวกลางแต่ละชนิดได้
3.1.1.2. 2.ส่งข้อมูลผ่านทางสายส่งโดยมีกระบวนการตรวจสอบความผิดพลาดของข้อมูลอันเนื่องมาจาก สัญญาณรบกวนที่เกิดในสายส่ง
3.1.1.3. 3. ชั้นเครือข่าย(network layer)ทําหน้าที่ควบคุมการส่งผ่านข้อมูล ระหว่างต้นางและปลายทางโดยผ่านจุดต่างๆ
3.1.1.4. 4. ชั้นขนส่ง(transport layer)เป็นชั้นของการตรวจสอบและควบคุมการส่ง ข้อมูลระหว่างเครื่องต้นทางและเครื่องปลายทางให้ถูกต้อง
3.1.1.5. 5. ชั้นส่วนงาน(session layer)ทําหน้าที่สร้างการติดต่อระหว่างเครื่องต้น ทางและปลายทาง ตลอดจนดูแลการส่งข้อมูลระหว่างเครื่องทั้งสองให้ถูกต้องและมีประสิทธิภาพโดย กําหนดขอบเขตการรับ-ส่ง
3.1.1.6. 6. ชั้นการนําเสนอข้อมูล (presentation layer)จะแปลงข้อมูลที่ส่งมาให้ อยู่ในรูปแบบที่โปรแกรมของเครื่องผู้รับเข้าใจ รวมทั้งการจัดรูปแบบและนําเสนอข้อมูลโดยกําหนดรูปแบบ ภาษา ชนิด และวิธีการเข้าถึงข้อมูลของเครื่องผู้ส่งให้เครื่องผู้รับเข้าใจ
3.1.1.7. 7. ชั้นการประยุกต์ (application layer)เป็นส่วนติดต่อระหว่างโปรแกรม ประยุกต์ของเครือข่ายผู้ใช้ โดยคอมพิวเตอร์จะแปลงข้อมูลที่ได้รับเข้าสู่ระบบ
3.2. โพรโตคอลTCP/IP
3.2.1. จุดประสงค์
3.2.1.1. เพื่อใช้ติดต่อสื่อสารระหว่างระบบที่มีความแตกต่างกัน ความสามารถในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในระบบเครือข่าย เช่นในกรณีที่ผู้ ส่งและผู้รับยังคงมีการติดต่อกันอยู่ แต่โหนดกลางทีใช้เป็นผู้ช่วยรับ-ส่งเกิด เสียหายใช้การไม่ได้หรือสายสื่อสารบางช่วงถูกตัดขาด กฎการสื่อสารนี้ จะต้องสามารถจัดหาทางเลือกอื่นเพื่อทําให้การสื่อสารดําเนินต่อไปได้โดย อัตโนมัติ มีความคล่องตัวต่อการสื่อสารข้อมูลได้หลายชนิดทั้งแบบที่ไม่มีความเร่งด่วน เช่น การจัดส่งแฟ้มข้อมูล และแบบที่ต้องการรับประกันความเร่งด่วนของ ข้อมูล เช่น การสื่อสารแบบ real-time และทั้งการสื่อสารแบบเสียง (Voice) และข้อมูล (data)
3.2.1.2. การย้อนกลับของข้อมูล
3.2.1.2.1. 1. ชั้นโฮสต์-เครือข่าย (Host-to-network)
3.2.1.2.2. 2. ชั้นสื่อสารอินเตอร์เน็ต (The Internet Layer)
3.2.1.2.3. 3. ชั้นสื่อสารนําส่งข้อมูล (Transport Layer)
3.2.1.2.4. 4. ชั้นสื่อสารการประยุกต์ (Application Layer)
3.3. 3.3.2 โพรโตคอล FTP (File Transfer Protocal)
3.3.1. การถ่ายโอนไฟล์หรือเรียกได้อีกอย่างว่า การ คัดลอกแฟ้มข้อมูลบนเครือข่าย คือ การโอนย้ายแฟ้มข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ระบบหนึ่งมายัง อีกระบบหนึ่งผ่านเครือข่าย
3.3.2. 3.3.2.1 ประเภทของการล็อกอินในบริการ FTP
3.3.2.1. ล็อกอินด้วยผู้ใช้ที่มีอยู่ในระบบ (Real FTP) ผู้ใช้บริการจะต้องมีบัญชีผู้ใช้อยู่จริงบน เซิร์ฟเวอร์สามารถเปลี่ยนไดเร็คทอรี่ไปที่อื่นได้ ล็อกอินด้วยผู้ใช้ที่มีอยู่ในระบบแต่จํากัดขอบเขต (Guest FTP) คล้ายกับ Real FTP ต่าง ตรงที่ ไม่สามารถเปลี่ยนไดเร็คทอรีไปไหนได้เกินขอบเขตที่เซิร์ฟเวอร์กําหนด ล็อกอินด้วยผู้ใช้ที่ไม่มีอยู่ระบบ (Anonymous FTP) การบริการ FTP แบบที่เปิดเสรีให้ คนท่วโลกมาใช ั ้บริการคงเป็นไปไม่ได้ที่จะมานั่งสร้างบัญชีผู้ใช้ให้รอบรับคนทั่วโลกแบบนี้ จึงกําหนดให้ล็อกอินโดยใช้ชื่อ anonymous ส่วนรหัสผ่าน E-Mail Address
3.3.3. 3.3.2.2 การสร้างส่วนเชื่อมโยงข้อมูล
3.3.3.1. 1. FTP ใช้ port TCP 21 ในการส่งผ่านคําสั่งควบคุมและใช้พอร์ต TCP 20 ส่งข้อมูล
3.3.3.2. 2. สมมุติพอร์ตประจําส่วนเชื่อมโยงควบคุมของ Client คือ 1124 และเตรียมพอร์ต 125 รอไว้ สําหรับส่วนเชื่อมโยงข้อมูล
3.3.3.3. 3. Client จะขอเปิดส่วนเชื่อมโยงข้อมูลตามตําแหน่ง (1) โดยส่งรหัสคําสั่ง Port ตามด้วย IP Address (158.108.33.1) และหมายเลขพอร์ต 4, 101 ซึ่งแสดงถึงพอร์ต 1125 (เลขพอร์ตเป็นรหัส 16 บิต สองชุดติดกัน ดังนั้นตัวเลข 4, 101 คือ 4 * 256 + 101 = 1125)
3.3.3.4. 4.ต่อจากนั้น Server จะส่ง TCP จากพอร์ต 20 ไปยัง client ที่พอร์ต 1125 ตามตําแหน่งที่ 2