ระบบคอมพิวเตอร์

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ระบบคอมพิวเตอร์ by Mind Map: ระบบคอมพิวเตอร์

1. 1. องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์

1.1.  ฮาร์ดแวร์ คือ ตัวเครื่องและอุปกรณ์ต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ทุก ๆ ชิ้น รวมถึงอุปกรณ์ภายนอก (Peripheraldevice) อื่นๆ เช่น จอภาพ แป้นพิมพ์ เมาส์ เครื่องพิมพ์ฮาร์ดดิสก์ แผงวงจรหลัก (Mainboard) แรม การ์ดจอ ซีพียู เป็นต้น

1.2.  ซอฟต์แวร์ คือ โปรแกรมหรือชุดข้อมูลค าสั่งต่าง ๆ ที่สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ท างานตามวัตถุประสงค์

1.3.  บุคลากร คือ ผู้ใช้งานหรือผู้ที่ท างานอยู่กับเครื่องคอมพิวเตอร์รวมถึงโปรแกรมเมอร์นักวิเคราะห์ ระบบ และอื่นๆ

2. 3. ซอฟต์แวร์

2.1. ซอฟต์แวร์ หมายถึง โปรแกรมหรือชุดข้อมูลค าสั่งต่างๆ ที่สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ท างานตามวัตถุประสงค์ ซอฟต์แวร์จึงรวมถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ทุกประเภทที่ท าให้คอมพิวเตอร์ท างานได้

2.1.1. 3.1ภาษาคอมพิวเตอร์คือ สื่อกลางส าหรับการติดต่อเพื่อให้คอมพิวเตอร์รับรู้ ภาษาคอมพิวเตอร์ในแต่ละ ยุคประกอบด้วย

2.1.1.1. ภาษาเครื่อง (Machine Languages)

2.1.1.2. ภาษาแอสเซมบลี(Assembly Languages)

2.1.1.3. ภาษาระดับสูง (High-Level Languages)

2.1.1.4. ภาษายุคที่4 (Fourth-Generation Languages: 4GL)

2.1.1.5. ภาษาเชิงวัตถุ(Object-Oriented Languages)

2.1.2. 3.2 ประเภทของซอฟต์แวร์

2.1.2.1. ซอฟต์แวร์ระบบ คือ ซอฟต์แวร์ที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นมาเพื่อใช้จัดการกับระบบคอมพิวเตอร์ท า หน้าที่ด าเนินงานพื้นฐานต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์ระบบ คือ ซอฟต์แวร์ที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นมาเพื่อใช้จัดการกับระบบคอมพิวเตอร์ท า หน้าที่ด าเนินงานพื้นฐานต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์

2.1.3. 1.) ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการ (Operating System: OS) เป็นซอฟต์แวร์ใช้ในการดูแลระบบคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมีระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้กันมากและเป็นที่รู้จักกันดี

2.1.4. 2.) ตัวแปลภาษา(Translator Program) ในการพัฒนาซอฟต์แวร์จ าเป็นต้องมีซอฟต์แวร์ที่ใช้ใน การแปลภาษาระดับสูงเพื่อแปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง

2.1.5. ซอฟต์แวร์ประยุกต์เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้กับงานด้านต่าง ๆ ตามความต้องการของผู้ใช้ที่สามารถ น ามาใช้ประโยชน์ได้โดยตรง เราอาจแบ่งซอฟต์แวร์ประยุกต์ออกเป็นสองกลุ่ม

2.1.5.1. 1) ซอฟต์แวร์ส าเร็จ ซอฟต์แวร์ส าเร็จ(Package)

2.1.5.2. 2) ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะ

3. 4. การใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับงาน4. การใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับงาน

3.1. เลือกใช้คอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมกับหน่วยงาน คอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทในงานด้านต่าง ๆ ทั้งที่เป็นหน่วยงานราชการ องค์กรต่างๆและธุรกิจขนาด เล็ก กลาง หรือใหญ่ โดยเลือกใช้ระบบคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมกับหน่วยงานหรือองค์กรนั้น

3.2. การเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์ การเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อน ามาใช้ในระบบงาน ต้องสามารถรองรับการขยายตัวของระบบ งานในอนาคต เนื่องจากเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มีการพัฒนาอยู่ตลอดเวลาและรวดเร็วมาก

3.3. การเลือกโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การเลือกโปรแกรมส าหรับคอมพิวเตอร์โปรแกรมแรกคือระบบปฏิบัติการ ต้องให้เหมาะสมกับระบบ คอมพิวเตอร์และต้องเป็นโปรแกรมที่ถูกต้องตามลิขสิทธิ์ขั้นตอนในการเลือกโปรแกรมให้เหมาะสมกับลักษณะ

4. 2. คุณลักษณะ (Specification) ของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง

4.1. หน่วยรับข้อมูล

4.1.1. อุปกรณ์รับเข้าแบบกด

4.1.1.1. แป้นพิมพ์ (Keyboard)

4.1.2. อุปกรณ์รับเข้าแบบชี้ต าแหน่ง

4.1.2.1. เมาส์(Mouse)

4.1.3. อุปกรณ์รับเข้าระบบปากกา

4.1.3.1. ปากกาแสง(Light pen)

4.1.3.2. เครื่องอ่านพิกัด(Digitizing tablet) หรือ แผ่นระนาบกราฟิก(graphic tablet)

4.1.4. อุปกรณ์รับเข้าแบบจอสัมผัส

4.1.4.1. จอสัมผัส(Touch screen)

4.1.5. อุปกรณ์รับเข้าแบบกวาดตรวจ

4.1.5.1. เครื่องอ่านรหัสแท่ง(Barcode Reader)

4.1.5.2. เครื่องกราดตรวจ(Scanner)

4.1.5.3. กล้องถ่ายภาพดิจิทัล (Digital camera)

4.1.6. อุปกรณ์รับเข้าแบบจดจ าเสียง เป็นอุปกรณ์ที่ใช้รับสัญญาณเสียงที่มนุษย์พูดและแปลงเป็น สัญญาณดิจิตอลเก็บข้อมูลไว้ในคอมพิวเตอร์ สั่งให้คอมพิวเตอร์ท างานทางเสียงแทนที่จะใช้แป้นพิมพ์

4.2. หน่วยประมวลผลกลาง

4.2.1. หน่ ว ยป ร ะ ม ว ล ผ ล กล าง ( Central Processing Unit : CPU) ห รือไ มโ ค รโพ รเ ซ ส เ ซอ ร์ ของ ไมโครคอมพิวเตอร์

4.2.2. 1) หน่วยควบคุม(Control Unit : CU) ท าหน้าที่ควบคุมการท างาน ควบคุมการเขียนอ่านข้อมูล ระหว่างหน่วยความจ าของซีพียูควบคุมกลไกการท างานทั้งหมดของระบบ

4.2.3. 2) หน่วยค านวณและตรรกะ(Arithmetic and Logic Unit : ALU) ท าหน้าที่ค านวณทางเลขคณิต ได้แก่ การบวก ลบ คูณ หาร และเปรียบเทียบทางตรรกะเพื่อท าการตัดสินใจ

4.3. หน่วยความจ า

4.3.1. โครงสร้างของล าดับขั้นหน่วยความจ า

4.3.2. รีจิสเตอร์(Register)

4.3.3. แคช(Cache)

4.3.4. หน่วยความจ าหลักแบบแก้ไขได้(Random-Access Memory : RAM)

4.3.5. หน่วยความจ าหลักแบบอ่านได้อย่างเดียว(Read Only Memory : ROM)

4.3.6. หน่วยความจ าส ารอง

4.4. หน่วยแสดงผล

4.4.1. 1) จอภาพ(Monitor) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการแสดงข้อมูลออกมาในลักษณะของข้อความและรูปภาพ หลักการในการแสดงภาพหรือข้อมูลบนจอจะคล้ายกับการท างานของจอโทรทัศน์

4.4.2. 2) เครื่องพิมพ์ (Printer) คือ อุปกรณ์แสดงผลลัพที่ใช้พิมพ์ข้อมูลที่เป็นเอกสาร ข้อความ และรูปภาพให้ ไปปรากฏบนกระดาษ เพื่อสามารถน าไปใช้ในงานอื่นๆ

4.4.3. 3) พลอตเตอร์ (Plotter) คือ เครื่องวาดลายเส้นท างานโดยอาศัยแขนจับปากกาลากลายเส้นในแนวแกน X-Y บนกระดาษเช่นเดียวกับการเขียนด้วยปากกาหรือดินสอ

4.5. เมนบอร์ด (Mainboard, mother board)

4.5.1. 1) ซ็อคเก็ตซีพียู(CPU socket) หรือสล็อตซีพียู (CPU slot)

4.5.2. 2) ชิปเซ็ต(Chip set) เป็นองค์ประกอบหลักที่ถูกติดตั้งอย่างถาวรบนเมนบอร์ด ไม่สามารถถอดหรือ เปลี่ยนแปลงได้ชิปเซ็ตมีความส าคัญอย่างมาก

4.5.3. 3) ช่องส าหรับติดตั้งหน่วยความจ า(Memory slot)

4.5.4. 4) ระบบบัสและช่องส าหรับติดตั้งอุปกรณ์ต่างๆ(Bus & Expansion slot) Bus หมายถึง ช่องทางการ ขนถ่ายข้อมูลจากอุปกรณ์หนึ่งไปยังอุปกรณ์หนึ่งของระบบคอมพิวเตอร์ระบบ BUS ทางกายภาพ

4.5.5. 5) Bios (Basic Input/Output System) คือ โปรแกรมเก็บไว้ในรอมและเป็นโปรแกรมที่ไมโครโพรเซสเซอร์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล เรียกใช้เป็นโปรแกรมแรกตั้งแต่เปิดเครื่อง

4.5.6. 6) ถ่านหรือแบตเตอรี่ แบตเตอรี่ไบออสเป็นอุปกรณ์ที่อยู่บนเมนบอร์ด แบตเตอรี่ที่ใช้จะเป็นแบบลิเธียม เนื่องจากมีความ คงทน โดยมีอายุการใช้งานเฉลี่ยจะอยู่ที่ประมาณ3 ปี

4.5.7. 8) ขั้วต่อสวิทช์และไฟหน้าเครื่อง (Front Panel Connector) เป็นขั้วต่อสัญญาณที่ใช้เชื่อมต่อเข้ากับสายไฟสีต่างๆ ที่เชื่อมโยงมาจากปุ่มสวิทช์และไฟแสดงสถานะ ที่อยู่บริเวณด้านหน้าของตัวเครื่อง

4.5.8. 9) จัมเปอร์(Jumper) ใช้ก าหนดการท างานของเมนบอร์ด ซึ่งจัมเปอร์ที่เป็นตัวหลักได้แก่ จัมเปอร์ส าหรับก าหนดความเร็ว ของบัสและจัมเปอร์ส าหรับตั้งตัวคูณของซีพียูเพื่อก าหนดว่าจะให้ท างานที่ตามความเร็วเท่าไร

4.5.9. 10) ขั้วต่อส าหรับหน่วยความจ าส ารอง o ขั้วต่อIDE ในปัจจุบันจะมีมาให้บนเมนบอร์ดเลยโดยปกติจะมี2 ชุดเนื่องจากมีตัวควบคุม2 ตัว แต่ ละตัวสามารถต่อฮาร์ดดิสก์ได้2 ตัว รวมเป็น4 ตัว

4.5.10. 11) พอร์ตอนุกรมและพอร์ตขนาน(Serial port & Parallel port) พอร์ตอนุกรมและขนานในปัจจุบันอยู่บนเมนบอร์ดแล้ว โดยถ้าเป็นบอร์ดATX จะมีขั้วต่ออยู่เลยโดย ไม่ต้องมีการต่อสายใด ๆ

4.5.11. 12) พอร์ตคีย์บอร์ดและเมาส์ พอร์ตคีย์บอร์ดเป็นพอร์ตที่อยู่บนเมนบอร์ดเรียกว่า PS/2 เมาส์แต่เดิมใช้ต่อกับพอร์ตอนุกรม แต่ ปัจจุบันก็มักใช้แบบ PS/2

4.5.12. 13) พอร์ตUSB Universal Serial Bus (USB) เป็นระบบการเชื่อมต่อระหว่างพีซีกับอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ ที่ พัฒนาขึ้นใหม่โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อจะเข้ามาแทนการต่อแบบต่าง ๆ ที่ใช้กันอยู่เดิมโดยให้มีความเร็วในการ รับส่งข้อมูลเพิ่มขึ้นเพื่อรองรับกับความเร็วของอุปกรณ์ต่าง ๆ

4.5.13. 14) Form Factor หมายถึง ขนาดของตัวเมนบอร์ดและต าแหน่งของขั้วต่ออุปกรณ์ภายนอกต่างๆ โดยจะต้องเข้ากันได้ กับชนิดของตัวเครื่องที่ใช้ ดังนี้

4.6. 2.6 อุปกรณ์เพิ่มเติม อุปกรณ์เพิ่มเติมไม่จ าเป็นที่ต้องซื้อเพิ่มเติม กรณีที่มีชิปเซ็ตบนเมนบอร์ดแล้ว แต่ถ้าต้องการติดตั้ง เพิ่มเติมเพื่อให้คอมพิวเตอร์มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นก็สามารถท าได้ ตัวอย่างอุปกรณ์เพิ่มเติม

4.6.1. 1) การ์ดแสดงผล(Graphic card)

4.6.2. 2) การ์ดแสดงสัญญาณเสียง(Sound Card)