ระบบคอมพิวเตอร์

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ระบบคอมพิวเตอร์ by Mind Map: ระบบคอมพิวเตอร์

1. 3. ซอฟต์แวร์

1.1. 3.1ภาษาคอมพิวเตอร์คือ สื่อกลางส าหรับการติดต่อเพื่อให้คอมพิวเตอร์รับรู้ ภาษาคอมพิวเตอร์ในแต่ละ ยุคประกอบด้วย

1.2. 3.1.1 ภาษาเครื่อง (Machine Languages) คือ เลขฐานสองที่ประกอบกันเป็นชุดค าสั่งและใช้สั่งงาน

1.3. 3.1.2 ภาษาแอสเซมบลี(Assembly Languages)

1.4. 3.1.3 ภาษาระดับสูง (High-Level Languages) เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่3

1.5. 3.1.4 ภาษายุคที่4 (Fourth-Generation Languages: 4GL) เป็นภาษาที่ไม่ต้องก าหนดขั้นตอนการ

1.6. 3.1.5 ภาษาเชิงวัตถุ(Object-Oriented Languages) เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ซึ่งจะมองทุกสิ่งเป็นวัตถุ (Object) โดยวัตถุจะประกอบด้วยข้อมูล(Data)

1.7. 3.2 ประเภทของซอฟต์แวร์ สามารถแบ่งออกได้เป็น2 ประเภท ได้แก่

1.7.1. 3.2.1 ซอฟต์แวร์ระบบ คือ ซอฟต์แวร์ที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นมาเพื่อใช้จัดการกับระบบคอมพิวเตอร์ท า หน้าที่ด าเนินงานพื้นฐานต่าง ๆ

1.7.2. 1.) ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการ (Operating System: OS) เป็นซอฟต์แวร์ใช้ในการดูแลระบบคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมีระบบปฏิบัติการ

1.7.3. 2.) ตัวแปลภาษา(Translator Program) ในการพัฒนาซอฟต์แวร์จ าเป็นต้องมีซอฟต์แวร์ที่ใช้ใน การแปลภาษาระดับสูงเพื่อแปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง

1.8. 3.2.2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้กับงานด้านต่าง ๆ ตามความต้องการของผู้ใช้ที่สามารถ น ามาใช้ประโยชน์ได้โดยตรง

1.8.1. 1) ซอฟต์แวร์ส าเร็จ ซอฟต์แวร์ส าเร็จ(Package) เป็นซอฟต์แวร์ที่มีความนิยมใช้กันสูงมาก ซอฟต์แวร์ส าเร็จเป็นซอฟต์แวร์ที่บริษัทพัฒนาขึ้นแล้วน าออกมาจ าหน่าย

2. 4. การใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับงาน

2.1. 4.1 หลักการเลือกคุณลักษณะของคอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมกับงาน

2.1.1. 4.1.1 เลือกใช้คอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมกับหน่วยงาน คอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทในงานด้านต่าง ๆ ทั้งที่เป็นหน่วยงานราชการ องค์กรต่างๆและธุรกิจขนาด เล็ก กลาง หรือใหญ่ โดยเลือกใช้ระบบคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมกับหน่วยงานหรือองค์กรนั้น ระบบ คอมพิวเตอร์ที่นิยมใช้คือ

2.2. 4.1.2 การเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์ การเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อน ามาใช้ในระบบงาน

2.3. 4.2 การเลือกโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การเลือกโปรแกรมส าหรับคอมพิวเตอร์โปรแกรมแรกคือระบบปฏิบัติการ ต้องให้เหมาะสมกับระบบ

2.3.1. 1. ตรงกับความต้องการ สามารถท างานได้ตรงตามความต้องการของผู้ใช้ 2. มีประสิทธิภาพ สามารถจัดการกับข้อมูลได้ดี การแสดงผล การประมวลผลรวดเร็วและถูกต้อง 3. ง่ายต่อการใช้งาน สามารถเรียนรู้วิธีการใช้งานได้ง่ายและมีเมนูช่วยเหลือในระหว่างการใช้งาน 4. มีความยืดหยุ่น สามารถใช้ได้กับระบบปฏิบัติการที่แตกต่างกัน สามารถรับส่งข้อมูลกับโปรแกรม

3. 1. องค์ประกอบและหลักการท างานของคอมพิวเตอร์

3.1.  ฮาร์ดแวร์ คือ ตัวเครื่องและอุปกรณ์ต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ทุก ๆ ชิ้น รวมถึงอุปกรณ์ภายนอก

3.2.  ซอฟต์แวร์ คือ โปรแกรมหรือชุดข้อมูลค าสั่งต่าง ๆ ที่สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ท างานตามวัตถุประสงค์

3.3.  บุคลากร คือ ผู้ใช้งานหรือผู้ที่ท างานอยู่กับเครื่องคอมพิวเตอร์รวมถึงโปรแกรมเมอร์นักวิเคราะห์ ระบบ และอื่นๆ

4. 2. คุณลักษณะของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง

4.1. 2.1 หน่วยรับข้อมูล

4.1.1. 2.1.1 อุปกรณ์รับเข้าแบบกด

4.1.2. 2.1.2 อุปกรณ์รับเข้าแบบชี้ต าแหน่ง

4.1.3. 2.1.3 อุปกรณ์รับเข้าระบบปากกา

4.1.4. 2.1.4 อุปกรณ์รับเข้าแบบจอสัมผัส

4.1.5. 2.1.5 อุปกรณ์รับเข้าแบบกวาดตรวจ

4.1.6. 2.1.6 อุปกรณ์รับเข้าแบบจดจ าเสียง

4.2. 2.2 หน่วยประมวลผลกลาง

4.2.1. 1) หน่วยควบคุม(Control Unit : CU) ท าหน้าที่ควบคุมการท างาน ควบคุมการเขียนอ่านข้อมูล

4.2.2. 2) หน่วยค านวณและตรรกะ(Arithmetic and Logic Unit : ALU) ท าหน้าที่ค านวณทางเลขคณิต ได้แก่ การบวก ลบ คูณ หาร

4.3. 2.3 หน่วยความจ ำ

4.3.1. 2.3.1 โครงสร้างของล าดับขั้นหน่วยความจ า

4.3.2. 2.3.2 รีจิสเตอร์(Register) เป็นหน่วยความจ าที่มีความจุน้อยสุด

4.3.3. 2.3.3 แคช(Cache) แคชสร้างขึ้นมาเพื่อให้เป็นหน่วยความจ าที่ท างานได้เร็วทีสุด

4.3.4. 2.3.4 หน่วยความจ าหลักแบบแก้ไขได้(Random-Access Memory : RAM) คุณลักษณะที่ส าคัญของRAM มีอยู่2 ประการคือ สามารถอ่านหรือบันทึกข้อมูลได้อย่างง่ายดาย และรวดเร็วด้วยการใช้สัญญานไฟฟ้า

4.3.5. 2.3.5 หน่วยความจ าหลักแบบอ่านได้อย่างเดียว(Read Only Memory : ROM) เป็นหน่วยความจ าที่มีคุณสมบัติในการเก็บข้อมูลไว้ได้ตลอดโดยไม่ต้องใช้ไฟฟ้าหล่อเลี้ยง

4.3.6. 2.3.6 หน่วยความจ าส ารอง

4.4. 2.4 หน่วยแสดงผล เป็นส่วนที่แสดงข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ไปสู่มนุษย์

4.4.1. 1) จอภาพ(Monitor) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการแสดงข้อมูลออกมาในลักษณะของข้อความและรูปภาพ หลักการในการแสดงภาพหรือข้อมูลบนจอจะคล้ายกับการท างานของจอโทรทัศน์

4.4.2. 2) เครื่องพิมพ์ (Printer) คือ อุปกรณ์แสดงผลลัพที่ใช้พิมพ์ข้อมูลที่เป็นเอกสาร

4.5. 2.5 เมนบอร์ด (Mainboard, mother board) เป็นหัวใจส าคัญที่สุดที่อยู่ภายในเครื่อง

4.5.1. 1) ซ็อคเก็ตซีพียู(CPU socket) หรือสล็อตซีพียู (CPU slot) คือ ฐานรองเพื่อบรรจุซีพียูเข้ากับ แผงวงจรหลักในคอมพิวเตอร์

4.5.2. 2) ชิปเซ็ต(Chip set) เป็นองค์ประกอบหลักที่ถูกติดตั้งอย่างถาวรบนเมนบอร์ด ไม่สามารถถอดหรือ เปลี่ยนแปลงได้ชิปเซ็ตมีความส าคัญอย่างมาก

4.5.3. 3) ช่องส าหรับติดตั้งหน่วยความจ า(Memory slot) หน่วยความจ าRAM จะมีลักษณะเป็นแผงที่มีความยาวจ านวนขา(Pin)

4.5.4. 4) ระบบบัสและช่องส าหรับติดตั้งอุปกรณ์ต่างๆ(Bus & Expansion slot) Bus หมายถึง ช่องทางการ

4.5.5. 6) ถ่านหรือแบตเตอรี่ แบตเตอรี่ไบออสเป็นอุปกรณ์ที่อยู่บนเมนบอร์ด

4.5.6. 7) ขั้วต่อสายแหล่งจ่ายไฟ (Power Connector) เป็นจุดที่ใช้เสียบเข้ากับหัวต่อหลักของสายที่มาจากPower Supply

4.5.7. 8) ขั้วต่อสวิทช์และไฟหน้าเครื่อง (Front Panel Connector) เป็นขั้วต่อสัญญาณที่ใช้เชื่อมต่อเข้ากับสายไฟสีต่างๆ

4.5.8. 9) จัมเปอร์(Jumper) ใช้ก าหนดการท างานของเมนบอร์ด

4.5.9. 10) ขั้วต่อส าหรับหน่วยความจ าส ารอง o ขั้วต่อIDE ในปัจจุบันจะมีมาให้บนเมนบอร์ดเลยโดยปกติจะมี2 ชุดเนื่องจากมีตัวควบคุม2 ตัว

4.6. 2.6 อุปกรณ์เพิ่มเติม

4.6.1. 1) การ์ดแสดงผล(Graphic card) ภาพในจอมอนิเตอร์นั้นสร้างขึ้นจากจุดเล็กๆ จ านวนมากหลายล้าน จุดที่เรียกว่าพิกเซล(pixels)

4.6.2. 2) การ์ดแสดงสัญญาณเสียง(Sound Card) เป็นอุปกรณ์สร้างและจัดการกับระบบเสียงทั้งหมดในเครื่อง คอมพิวเตอร์ เช่น เล่นไฟล์เสียงในรูปแบบต่างๆ