ระบบคอมพิวเตอร์

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ระบบคอมพิวเตอร์ by Mind Map: ระบบคอมพิวเตอร์

1. ซอฟต์แวร์

1.1. ภาษาคอมพิวเตอร์

1.2. ประเภทของซอฟต์แวร์

1.2.1. ซอฟต์แวร์ระบบ

1.2.1.1. ระบบปฏิบัติการ

1.2.2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์

1.2.2.1. ซอฟต์แวร์สำเร็จ

1.2.2.2. ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะ

1.3. การใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับงาน

1.3.1. หลักการเลือกคุณลักษณะของคอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมกับงาน

1.3.1.1. เลือกใช้คอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมกับหน่วยงาน

1.3.1.2. การเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์

1.3.2. การเลือกโปรแกรมคอมพิวเตอร์

2. องค์ประกอบ

2.1. ฮาร์ดแวร์ คือ ตัวเครื่องและอุปกรณ์ต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ทุก ๆ ชิ้น รวมถึงอุปกรณ์ภายนอก (Peripheraldevice) อื่นๆ เช่น จอภาพ แป้นพิมพ์ เมาส์ เครื่องพิมพ์ฮาร์ดดิสก์ แผงวงจรหลัก (Mainboard) แรม การ์ดจอ ซีพียู เป็นต้น

2.2. ซอฟต์แวร์ คือ โปรแกรมหรือชุดข้อมูลค าสั่งต่าง ๆ ที่สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ท างานตามวัตถุประสงค์

2.3. บุคลากร คือ ผู้ใช้งานหรือผู้ที่ทำงานอยู่กับเครื่องคอมพิวเตอร์รวมถึงโปรแกรมเมอร์นักวิเคราะห์ ระบบ และอื่นๆ

3. คุณลักษณะของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง

3.1. หน่วยรับข้อมูล

3.1.1. อุปกรณ์รับเข้าแบบกด

3.1.1.1. พิมพ์คีย์บอร์ด (คีย์บอร์ด) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์โดยพิมพ์คำสั่ง มีแผงวงจรหลักที่จะประกอบชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ที่มีลักษณะเป็นแผ่นบาง ๆ ที่ถูกฉาบด้วยหมึกที่เป็นตัวเองเมื่อมีการกดจนติดกัน จะมีกระแสไฟฟ้าในรูปแบบของวงจรไฟฟ้าโดยใช้คีย์บอร์ดเป็นรูปวงแหวนเชื่อมต่อกับสายไฟ บนจอภาพ

3.1.2. อุปกรณ์รับเข้าแบบชี้ตำแหน่ง

3.1.2.1. เมาส์(Mouse) เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยให้การใช้งานง่ายขึ้นด้วยการใช้เมาส์เลื่อนตัวชี้ไปยังต าแหน่ง ต่าง ๆ บนจอภาพ ในขณะที่สายตาจับอยู่ที่จอภาพก็สามารถใช้มือลากเมาส์ไปมาได้ระยะทางและทิศทางของ ตัวชี้จะสัมพันธ์และเป็นไปในแนวทางเดียวกับการเลื่อนเมาส์ เมาส์แบ่งได้เป็นสองแบบคือ เมาส์แบบทางกล (Mechanical) และเมาส์แบบใช้เแสง(Optical)

3.1.2.2. อุปกรณ์ที่จะนำเสนอด้วยเครื่องช่วยในการพกพาและให้พื้นที่ในการทำงานน้อย มีลักษณะเป็นลูกบอลกลมอยู่ภายในเบรคเกอร์เคาะอักขระของเครื่อ เครื่องคอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊คผู้ใช้สามารถใช้งานได้โดยการหมุนลูกกลมไปในทิศทางที่ต้องการ (เช่นแทร็คจุด) มีลักษณะเป็นแท่งพลาสติกที่ส่วน ชุดชั้นในของเครื่องคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊กสามารถใช้งานอุปกรณ์นี้ได้ แผ่นรองสัมผัส (แผ่นรองสัมผัส) เป็นแผ่นพลาสติกที่ไวต่อการสัมผัสโดยตรงกับแป้นพิมพ์ของเครื่องคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊กที่สามารถใช้เป็นตัวควบคุมได้ สามารถคลิกหรือดับเบิ้ลคลิกเพื่อเลือกรายการหรือสัญรูปได้

3.1.2.3. ก้านควบคุม(Joystick) ท าหน้าที่ก าหนดการเคลื่อนที่ของตัวชี้บนจอภาพโดยลักษณะของก้าน ควบคุมจะคล้ายกล่องที่มีก้านโผล่ออกมาและก้านนั้นสามารถบิดขึ้น ลง ซ้าย ขวาได้การเคลื่อนที่ของก้านเป็น การก าหนดทิศทางการเคลื่อนที่ของตัวชี้ต าแหน่ง

3.1.3. อุปกรณ์รับเข้าระบบปากกา

3.1.3.1. อุปกรณ์ที่มีรูปร่างเหมือนปากกา แต่จะมีแสงที่ปลายหางที่ใช้ในงานกราฟิกที่จำเป็นต้องใช้คอมพิวเตอร์ช่วยออกแบบ (Computer Aided Design: CAD) อุปกรณ์ชิ้นนี้จะช่วยให้ได้รับความสะดวก และอุปกรณ์ที่กำลังแพร่กระจายอยู่

3.1.3.1.1. ปากกาแสง(Light pen)

3.1.3.1.2. เครื่องอ่านพิกัด(Digitizing tablet)

3.1.4. อุปกรณ์รับเข้าแบบจอสัมผัส

3.1.4.1. จอสัมผัส(Touch screen) เป็นจอภาพที่เคลือบสารพิเศษไว้ท าให้สามารถรับต าแหน่งของการ สัมผัสด้วยมือมนุษย์ได้ทันที ผู้ใช้เพียงแตะปลายนิ้วลงบนจอภาพในต าแหน่งที่ก าหนดไว้เพื่อเลือกการท างานที่ ต้องการ ซอฟต์แวร์ที่ใช้จะเป็นตัวค้นหาว่าผู้ใช้เลือกทางเลือกใดและท างานให้ตามนั้น

3.1.5. อุปกรณ์รับเข้าแบบกวาดตรวจ

3.1.5.1. เครื่องอ่านรหัสแท่ง(Barcode Reader)

3.1.5.2. เครื่องกราดตรวจ(Scanner)

3.1.5.3. กล้องถ่ายภาพดิจิทัล (Digital camera)

3.1.6. อุปกรณ์รับเข้าแบบจดจ าเสียง

3.1.6.1. เป็นอุปกรณ์ที่ใช้รับสัญญาณเสียงที่มนุษย์พูดและแปลงเป็น สัญญาณดิจิตอลเก็บข้อมูลไว้ในคอมพิวเตอร์ สั่งให้คอมพิวเตอร์ท างานทางเสียงแทนที่จะใช้แป้นพิมพ์

3.2. หน่วยประมวลผลกลาง

3.2.1. หน่ ว ยป ร ะ ม ว ล ผ ล กล าง ( Central Processing Unit : CPU) ห รือไ มโ ค รโพ รเ ซ ส เ ซอ ร์ ของ ไมโครคอมพิวเตอร์ มีหน้าที่น าค าสั่งและข้อมูลที่เก็บไว้ในหน่วยความจ ามาแปลความหมายและกระท าตาม ค าสั่งพื้นฐานของไมโครโพรเซสเซอร์ซึ่งแทนได้ด้วยรหัสเลขฐานสอง องค์ประกอบภายในของซีพียูที่ส าคัญมี รายละเอียดดังนี้

3.2.1.1. หน่วยควบคุม(Control Unit : CU)

3.2.1.2. หน่วยค านวณและตรรกะ(Arithmetic and Logic Unit : ALU)

3.3. หน่วยความจำ

3.3.1. ความหนาแน่นของหน่วยความจำ

3.3.2. รีจิสเตอร์(Register)

3.3.3. แคช(Cache)

3.3.4. หน่วยความจ าหลักแบบแก้ไขได้(Random-Access Memory : RAM)

3.3.5. หน่วยความจ าหลักแบบอ่านได้อย่างเดียว(Read Only Memory : ROM)

3.3.6. หน่วยความจำสำรอง

3.4. หน่วยแสดงผล

3.4.1. เป็นส่วนที่แสดงข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ไปสู่มนุษย์ เราเรียกเครื่องมือในส่วนนี้ว่า อุปกรณ์แสดงผล (Output Devices) สามารถแบ่งออกได้เป็น2 ประเภทตามลักษณะของข้อมูลที่แสดงออกมา ได้แก่ อุปกรณ์แสดงผลที่มนุษย์จับต้องไม่ได้(Softcopy Output Device) หมายถึง อุปกรณ์แสดงข้อมูล ที่มนุษย์ไม่สามารถจับต้องข้อมูลที่แสดงนั้นได้ เช่น ข้อมูลตัวอักษรหรือภาพบนจอภาพ หรือข้อมูลเสียงจาก ล าโพง เรียกข้อมูลประเภทนี้ว่าSoftcopy อุปกรณ์แสดงผลที่มนุษย์จับต้องได้(Hardcopy Output Device) หมายถึง อุปกรณ์แสดงข้อมูลที่ มนุษย์สามารถจับต้องข้อมูลที่แสดงนั้นได้ เช่น ตัวอักษรหรือภาพบนกระดาษ เป็นต้น เราเรียกข้อมูลประเภทนี้ ว่าHardcopy ตัวอย่างอุปกรณ์แสดงผล ได้แก่

3.4.1.1. จอภาพ(Monitor)

3.4.1.2. เครื่องพิมพ์ (Printer)

3.4.1.3. พลอตเตอร์ (Plotter)

3.5. เมนบอร์ด (Mainboard, mother board)