ระบบคอมพิวเตอร์

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ระบบคอมพิวเตอร์ by Mind Map: ระบบคอมพิวเตอร์

1. คุณลักษณะของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง

1.1. หน่วยรับข้อมูล

1.1.1. อุปกรณ์รับเข้าแบบกด 1) แป้นพิมพ์ (Keyboard)

1.1.2. อุปกรณ์รับเข้าแบบชี้ต าแหน่ง 1) เมาส์(Mouse)

1.1.3. 2.1.4 อุปกรณ์รับเข้าแบบจอสัมผัส จอสัมผัส(Touch screen) เป็นจอภาพที่เคลือบสารพิเศษไว้ท าให้สามารถรับต าแหน่งของการ สัมผัสด้วยมือมนุษย์ได้ทันที

1.1.4. อุปกรณ์รับเข้าแบบกวาดตรวจ 1) เครื่องอ่านรหัสแท่ง(Barcode Reader)

1.1.5. อุปกรณ์รับเข้าแบบจดจำเสียง

1.2. หน่วยประมวลผลกลาง

1.2.1. หน่วยควบคุม(Control Unit : CU) ท าหน้าที่ควบคุมการท างาน ควบคุมการเขียนอ่านข้อมูล

1.2.2. หน่วยค านวณและตรรกะ(Arithmetic and Logic Unit : ALU) ท าหน้าที่ค านวณทางเลขคณิต ได้แก่ การบวก ลบ คูณ หาร และเปรียบเทียบทางตรรกะเพื่อท าการตัดสินใจบรรจุ

1.2.2.1. บรรจุภัณฑ์(Packaging) และฐานรอง(Socket) ของซีพียู

1.2.2.2. อุปกรณ์ช่วยระบายความร้อนให้ซีพียู(Heat Sink)

1.2.2.3. สารเชื่อมความร้อน(Thermal Grease)

1.2.3. หน่วยความจำ

1.2.3.1. โครงสร้างของลำดับขั้นหน่วยความจำ

1.2.3.2. รีจิสเตอร์(Register) เป็นหน่วยความจำที่มีความจุน้อยสุด มีความเร็วสูงสุด

1.2.3.3. แคช(Cache) แคชสร้างขึ้นมาเพื่อให้เป็นหน่วยความจำที่ทำงานได้เร็วทีสุด

1.2.3.4. หน่วยความจำหลักแบบแก้ไขได้(Random-Access Memory : RAM)

1.2.3.5. หน่วยความจำหลักแบบอ่านได้อย่างเดียว(Read Only Memory : ROM) เป็นหน่วยความจำที่มีคุณสมบัติในการเก็บข้อมูลไว้ได้ตลอดโดยไม่ต้องใช้ไฟฟ้าหล่อเลี้ยง

1.2.3.6. หน่วยความจำสำรอง ฮาร์ดดิสก์(Hard disk)

1.2.4. หน่วยแสดงผล

1.2.4.1. จอภาพ(Monitor) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการแสดงข้อมูลออกมาในลักษณะของข้อความและรูปภาพ หลักการในการแสดงภาพหรือข้อมูลบนจอจะคล้ายกับการท างานของจอโทรทัศน์

1.2.4.2. เครื่องพิมพ์ (Printer) คือ อุปกรณ์แสดงผลลัพที่ใช้พิมพ์ข้อมูลที่เป็นเอกสาร ข้อความ และรูปภาพให้ ไปปรากฏบนกระดาษ เพื่อสามารถน าไปใช้ในงานอื่นๆ ได้

1.2.4.3. พลอตเตอร์ (Plotter) คือ เครื่องวาดลายเส้นท างานโดยอาศัยแขนจับปากกาลากลายเส้นในแนวแกน

1.2.5. 2.5 เมนบอร์ด (Mainboard, mother board)

2. ซอฟต์แวร์

2.1. โปรแกรมหรือชุดข้อมูลค าสั่งต่างๆ ที่สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ท างานตามวัตถุประสงค์ ซอฟต์แวร์จึงรวมถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ทุกประเภทที่ท าให้คอมพิวเตอร์ท างานได้

2.2. ภาษาคอมพิวเตอร์คือ สื่อกลางส าหรับการติดต่อเพื่อให้คอมพิวเตอร์รับรู้

2.2.1. ภาษาเครื่อง

2.2.2. ภาษาระดับสูง

2.3. ประเภทของซอฟต์แวร์

2.3.1. ซอฟต์แวร์ระบบ

2.3.1.1. ระบบปฏิบัติการ

2.3.1.2. ตัวแปลภาษา

2.3.2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้กับงานด้านต่าง

2.3.2.1. ซอฟต์แวร์ส าเร็จ ซอฟต์แวร์ส าเร็จ(Package) เป็นซอฟต์แวร์ที่มีความนิยมใช้กันสูงมาก ซอฟต์แวร์ส าเร็จเป็นซอฟต์แวร์ที่บริษัทพัฒนาขึ้นแล้วน าออกมาจ าหน่าย

3. การเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์

3.1. ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) เหมาะกับธุรกิจขนาดเล็กจนถึงขนาดกลาง

3.2. มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) เหมาะกับธุรกิจขนาดกลาง

3.3. เมนเฟรม (Mainframe) และ ซูเปอร์คอมพิวเตอร์

4. องค์ประกอบและหลักการทำางานของคอมพิวเตอร์

4.1. ฮาร์ดแวร์ คือเช่น จอภาพ แป้นพิมพ์ เมาส์

4.2. ซอฟต์แวร์ คือ โปรแกรมหรือชุดข้อมูลคำสั่งต่าง ๆ

4.3. บุคลากร คือ ผู้ใช้งานหรือผู้ที่ท างานอยู่กับเครื่องคอมพิวเตอร์รวมถึงโปรแกรมเมอร์นักวิเคราะห์

5. หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์

5.1. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) หน่วยรับข้อมูลเป็นส่วนแรกที่ติดต่อกับผู้ใช้

5.2. หน่วยประมวลผล (Processing Unit) หน่วยประมวลผลถือเป็นส่วนที่ส าคัญที่สุดของเครื่องคอมพิวเตอร์

5.3. หน่วยความจ า(Memory Unit) หน่วยความจ าเป็นหน่วยที่ส าคัญที่จะต้องท างานร่วมกันกับหน่วยประมวลผลอยู่โดยตลอด

5.4. หน่วยแสดงผล(Output Unit) หน่วยแสดงผลเป็นหน่วยที่ใช้ในการแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกมาในรูปแบบต่างๆ