ธาตุกัมมันตรัง

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ธาตุกัมมันตรัง by Mind Map: ธาตุกัมมันตรัง

1. เกิดกับนิวนิวเคลียสที่มีจำนวนนิวตรอนมากกว่าโปรตอนนิวตรอนในนิวเคลียสจะเปลี่ยนไปเป็นโปรตอนและอิเล็กตรอน

2. ปฏิกิริยาเคมีที่ได้ศึกษามาแล้ว เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับเวเลนซ์อิเล็กตรอนของธาตุ

2.1. ปฏิกิริยาฟิชชัน

2.1.1. เกิดขึ้นภายใต้ภาวะที่เหมาะสมจะได้จำนวนนิวตรอนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วทำให้ปฏิกิริยาฟิชชันดำเนินไปอย่างรวดเร็วและปล่อยพลังงานออกมาจำนวนมหาศาล

2.2. ปฏิกิริยาฟิวชัน

2.2.1. ปฏิกิริยาฟิวชันเกิดขึ้นบนดวงอาทิตย์ซึ่งเป็นแหล่งพลังงานที่สำคัญของสุริยจักรวาล

3. การสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี

3.1. การแผ่รังสีแอลฟา

3.1.1. ส่วนใหญ่เกิดกับนิวเคลียสที่มีเลขอะตอมสูงกว่า82และจำนวนนิวตรอนต่อโปรตอนในสัดส่วนที่ไม่เหมาะสม

3.2. การแผ่รังสีบีตา

3.3. รังสีแกมมา

3.3.1. เกิดกับไอโซโทปกัมมันตรังสีที่มีพลังงานสูงมาก

4. ปฏิกิริยานิวเคลียร์

5. การเกิดกัมมันตภาพรังสี

5.1. กัมมันตภาพรังสีเป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติของสาร เกิดจากธาตุกัมมันตรังสี เช่น U-238และTh-232แผ่รังสีออกมาตลอด

5.2. เกิดจากนิวเคลียสในสภาวะพื้นฐานได้รับพลังงาน

5.3. เกิดจากนิวเคลียสที่อยู่ในสภาพสเถียร. แต่มีอนุภาคไม่สมดุล

6. นายภูริณัฐ กมลหรรษา ม.4/4 เลขที่15

7. ครึ่งชีวิตของธาตุกัมมันตรังสี

7.1. ธาตุกัมมันตรังสีจะสลายตัวให้รังสีชนิดใดชนิดหนึ่งออกมาได้เองตลอดเวลา

8. การตรวจสอบสารกัมมันตรังสีและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการใช้สารกัมมันตรังสี

8.1. รังสีทำให้โมเลกุลของของสารแตกตัวเป็นไปออนได้เป็นผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่เซลล์ของสิ่งมีชีวิต

8.1.1. ด้านธรณีวิทยา

8.1.1.1. ใช้คาร์บอน-14ซึ่งมีครึ่งชีวิต5730ปีหาอายุโบราณที่มีคาร์บอนเป็นองค์ประกอบ เช่น ไม้ กระดูก หรทอสารอินทรีย์อื่นๆ

8.1.2. ด้านการแพทย์

8.1.2.1. ใช้เพื่อศึกษาความผิดปกติของอวัยวะต่างๆในร่างกายโดยให้คนไข้รับประทานอาหาร

8.1.3. ด้านเกษตรกรรม

8.1.3.1. ใช้ไอโซโทปกัมมันตรังสีในการติดตามระยะเวลาของการหมุนเวียนเเร่ธาตุในพืช

8.1.4. ด้านอุตสาหกรรม

8.1.4.1. ใช้ไอโซโทปกัมมันตรังสีกับงานหลายอย่าง เช่น ใช้ตรวจหารอยตำหนิในโลหะหรือรอยรั่วของท่อขนส่งของเหลว

8.1.5. การเก็บถนอมอาหาร

8.1.5.1. ใช้โคบอลต์-60ซึ่งจะให้รังสีแกมมาที่ไม่มีผลตกค้างและรังสีจะทำลายแบคทีเรียจึงช่วยเก็บอาหารไว้ได้นานหลายวัน

9. ชนิดของรังสีบางชนิด

10. 1.รังแอลฟา

11. 2.รังสีบีตา

12. 3.รังสีแกมมา