การทบทวนวรรณกรรม. (Literature review)

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การทบทวนวรรณกรรม. (Literature review) by Mind Map: การทบทวนวรรณกรรม. (Literature review)

1. การทบทวนวรรณกรรมต้องเป็นการให้ความรู้เพื่อขยายหัวข้อการวิจัยปัญหาการวิจัยวัตถุประสงค์การวิจัย การพัฒนาสมมติฐานการวิจัยตลอดจนระเบียบวิธีการวิจัยและวิธีการดำเนินการวิจัยเพื่อค้นหาคำตอบที่ต้องการ การทบทวนวรรณกรรมที่ดีควรใช้ภาษาของผู้วิจัยเองและควรแบ่งประเด็นหัวข้อต่างๆให้ชัดเจนและเชื่อมโยงเรื่องราวต่างๆให้เป็นเนื้อเดียวกัน

2. สรุป

3. ประโยชน์ของการทบทวนวรรณกรรม

3.1. 1.ทำให้ไม่ทำวิจัยซ้ำกับผู้อื่น

3.2. 2.ทำให้ทราบถึงอุปสรรคหรือข้อบกพร่องในการวิจัยนั้นๆ

3.3. 3.ใช่เป็นข้อมูลพื้นฐานประกอบการพิจารณากำหนดขอบเขตและตัวแปรการวิจัย

3.4. 4.ใช้เป็นข้อมูลในการกำหนดกรอบแนวคิด

3.5. 5. ช่วยในการกำหนดสมมติฐานการวิจัย

3.6. 6. ช่วยกำหนดรูปแบบและวิธีการวิจัย

3.7. 7.ช่วยในการเชื่อมโยงสิ่งที่ค่นพบในการวิจัยครั้งนี้กับที่พบจากวิจัยที่ผ่านมา

4. ขั้นตอนการทบทวนวรรณกรรม

4.1. 1.การค้นหาวรรณกรรม

4.1.1. หัวข้อการทบทวนวรรณกรรม

4.1.1.1. การออกแบบการวิจัย

4.1.1.2. เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล

4.1.1.3. วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล

4.1.1.4. ข้อค้นพบจากการวิจัย

4.1.2. หลักในการค้นหาวรรณกรรม

4.1.2.1. เอกสารและงานวิจัยมีความเกี่ยวข้องกับปัญหาวิจัยของเรา

4.1.2.2. นำเสนอเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องได้มากกว่าในรายงานการวิจัย

4.1.2.3. ควรมีเหตุผลในการนำเสนอเอกสารแต่ละเรื่อง

4.1.2.4. ถ้าหากผลของการวิจัยมีความขัดแย้งกันต้องนำเสนอเอกสารและงานวิจัยที่มีข้อค้นพบที่สนับสนุนแต่ละฝ่าย

4.1.2.5. ถ้ามีงานวิจัยหลายๆเรื่องที่มีผลการค้นพบเหมือนกันอาจนำเลือกนำเสนอเพียงเรื่องเดียว

4.1.2.6. จำเป็นต้องเสนองานวิจัยที่เกี่ยวข้องฉบับที่ทันสมัย

4.1.3. แหล่งข้อมูล

4.1.3.1. หนังสือ

4.1.3.2. ดรรชนีวารสาร

4.1.3.3. พจนานุกรม

4.1.3.4. สารานุกรม

4.1.3.5. บทคัดย่อ

4.1.3.6. หนังสือรายปี

4.1.3.7. วิทยานิพนธ์

4.1.3.8. วารสาร

4.1.3.9. รายงานการวิจัย

4.1.3.10. หนังสืออ้างอิงอื่นๆ

4.1.4. เรียบเรียงใหม่โดยใช้ภาษาซึ่งเป็นของผู้วิจัย

4.1.5. ทีมาของข้อมูล

4.1.5.1. ข้อมูล online

4.1.5.2. ข้อมูลที่เป็นเอกสาร

4.1.5.3. ข้อมูลอิเลกทรอนิกส์

4.2. เลือกเฉพาะข้อมูล

4.3. 2.สรุปย่อข้อมูลวรรณกรรม

4.3.1. วิธีการบันทึกเนื้อหาที่สำคัญ

4.3.1.1. บันทึกลงบัตรบันทึก

4.3.1.1.1. ใช้โปรแกรมสำเร็จรูป

4.3.1.2. ทำตารางสรุป

4.4. 3.เรียบเรียงข้อมูลวรรณกรรม

4.4.1. หลักการเรียบเรียง

4.4.2. วิธีการเขียนวรรณกรรม

4.4.2.1. เน้นการอ้างอิงจากแหล่งปฐมภูมิเท่านั้น

4.4.2.2. เน้นการเขียนเชื่อมโยงและมีความต่อเนื่องในเนื้อหา

4.4.2.3. มีการเขียนสรุปในตอนท้าย

5. ความหมาย

5.1. วรรณกรรมในงานวิจัย คือ เอกสารที่เกี่ยวข้องกับแนวคิด/ทฤษฎีและผลงานวิจัยที่มีเนื้อหาสัมพันธ์กับเรื่องที่ทำการศึกษา

5.2. การทบทวนวรรณกรรม คือ การค้นคว้าศึกษารวบรวมและประมวลผลงานทางวิชาการเพื่อประเมินแนวความคิดระเบียบวิธีการวิจัย สมมติฐาน ข้อสรุป

6. ความสำคัญของการทบทวนวรรณกรรม

6.1. 1.เพื่อหาความจริง

6.2. 2. เพื่อให้เลือกสรรปัญหาได้ถูกต้อง.

6.3. 3.ช่วยในการนิยามปัญหา

6.4. 4.เพื่อหลีกเลี่ยงการทำวิจัยซ้ำซ้อน

6.5. 5.เพื่อหาเทคนิคในการวิจัย

6.6. 6.ช่วยในการแปลความหมายของข้อมูล

7. การโจรกรรมทางวิชาการ

7.1. รูปแบบ Plagiarism

7.1.1. การคัดลอก

7.1.2. การเปลี่ยนคำ

7.1.3. การอุปมา

7.1.4. สำนวน

7.1.5. ความคิด

7.1.6. การกระทำที่ถือว่าเป็น Plagiarism

7.1.7. การส่งผลงานที่ทำร่วมกับผู้อื่นไปเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากผู้เขียนร่วม