แนวคิดและทฤษฎี จริยศาสตร์ จริยธรรม และ จรรยาบรรณวิชาชีพ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
แนวคิดและทฤษฎี จริยศาสตร์ จริยธรรม และ จรรยาบรรณวิชาชีพ by Mind Map: แนวคิดและทฤษฎี จริยศาสตร์ จริยธรรม และ จรรยาบรรณวิชาชีพ

1. โครงสร้างของ จริยธรรม

1.1. ทฤษฎีพัฒนาจริยธรรมของโคลเบอร์ก

1.1.1. ระดับที่ 1 ระดับก่อนเกณฑ์

1.1.1.1. ขั้น 1 หลักการหลบหลีกการถูกลงโทษ

1.1.1.2. ขั้น 2 หลักการแสวงหารางวัล

1.1.2. ระดับที่ 2 ระดับตามกฎเกณฑ์

1.1.2.1. ขั้น 3 หลักการทําตามผู้อื่นที่เห็นชอบ

1.1.2.2. ขั้นที่ 4หลักการทําตามหน้าที่สังคม

1.1.3. ระดับที่ 3 ระดับเหนือกฎเกณฑ์

1.1.3.1. ขั้นที่ 5 หลักการทําตามคํามั่นสัญญา

1.1.3.2. ขั้นที่ 6 หลักการยึดอุดมคติสากล

1.2. การพัฒนาจริยธรรม ในวิชาชีพ

1.2.1. การกระจ่างค่านิยม

1.2.2. การให้เหตุผลทางจริยธรรม

1.2.3. การปรับพฤติกรรม

1.2.4. การเรียนรู้ทางสังคม

2. ทฤษฎีจริยศาสตร์

2.1. ทฤษฎีหน้าที่นิยม

2.1.1. แนวคิดของค้านท์

2.1.1.1. เป้าหมาย

2.1.1.1.1. 1) ความเป็นอิสระของเหตุผล (autonomy of reason)

2.1.1.1.2. 2) เจตนาดี (good will) ซึ่งเป็นการกระทําที่เกิดจาก "หน้าที่" (duty) ตามเหตุผลแห่งกฎจริยธรรม

2.1.1.2. หลักจริยธรรม ของค้านท์ คือ"จงทําในสิ่งที่เราสามารถ ปรารถนาให้หลักการของการกระทํานั้นกลายเป็นกฎสากล ได้

2.2. ทฤษฎีประโยชน์นิยม

2.2.1. แนวคิดของสจ็วต มิลล์

2.2.1.1. มิใช่ความสุขส่วนตัวของผู้กระทํา แต่ของทุก คนที่เกี่ยวข้องระหว่างความสุขของผู้กระทํากับผู้อื่น

2.2.1.2. คุณค่าทางจริยธรรม ไม่มีอยู่จริง มนุษย์สร้างขึ้น ขึ้นกับ กาลเวลา และเปลี่ยนแปลงได้

3. แนวคิดของจริยศาสตร์

3.1. ความสำคัญ ขอบเขต ของจริยศาสตร์

3.1.1. จริยศาสตร์ การศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ และ กําหนดเกณฑ์เพื่อตัดสินพฤติกรรมที่มนุษย์ได้

3.1.2. ปัญหาที่จริยศาสตร์หาคําตอบ

3.1.2.1. ความมีอยู่ของคุณค่า

3.1.2.2. มาตรการตัดสิน

3.1.2.3. ค่าของชีวิต

3.2. คำศัพท์ที่เกี่ยวข้อง

3.2.1. คุณธรรม” (Virtue) หมายถึงสภาพคุณงามความดีทาง ความประพฤติและจิตใจของบุคคล

3.2.2. “มโนธรรม” (Conscience) ความรู้สึกผิดชอบ ชั่วดี

3.2.3. “จริยศาสตร์” (morality) ปรัชญาสาขาหนึ่ง ว่าด้วยความประพฤติ และการครองชีวิต ว่าอะไรดี อะไร ชั่ว อะไรถูก อะไรผิด

3.2.4. “จริยธรรม” (Ethics) ความประพฤติที่สังคม มุ่งหวังให้คนในสังคมนั้นประพฤติปฏิบัติต่อตนเอง ต่อผู้อื่น และต่อสังคม

3.2.5. “จรรยาบรรณ” (Code of Conduct) ประมวลความประพฤติที่ผู้ประกอบอาชีพการงานแต่ละอย่างกําหนดขึ้น เพื่อรักษาและส่งเสริมเกียรติคุณ ชื่อเสียง และฐานะของสมาชิก

3.3. จริยศาสตร์ชีวภาพ

3.3.1. การปฏิบัติต่อสิ่งมีชีวิตอย่างมีคุณธรรม ไม่ทําร้าย หรือทํา อันตรายต่อสัตว์หรือมนุษย์เพื่อการศึกษาหรือการวิจัย

3.3.1.1. -การโคลนมนุษย์ (cloning)

3.3.1.1.1. -ปัญหาด้านกฎหมายอย่างในการพิสูจน์จําแนกผู้กระทําผิด

3.3.1.1.2. -ปัญหาการบริจาคอวัยวะนั้นอยู่เพื่อการปลูกถ่ายทดแทนอวัยวะ เดิมที่สูญเสียไป

3.3.1.2. -การอุ้มบุญ(surrogacy)

3.3.1.2.1. 1) อุ้มบุญแท้ ( full surrogacy )

3.3.1.2.2. 2) อุ้มบุญเทียม ( partial surrogacy)

3.3.1.3. -สิ่งมีชีวิตตัดแต่งพันธุกรรม GMO

3.3.1.4. -อาวุธชีวภาพ ( Biological weapons )

3.3.1.5. ‐ทัวร์อวสานชีวิต/กรุณพิฆาต(mercy killing)

3.3.1.6. ‐การเปลี่ยนอวัยวะ(organ transplantation)

3.3.1.7. -การทําแท้ง (Abortion)

3.3.2. จรรยาบรรณในการใช้สัตว์ทดลอง (สกว.) -ผู้ใช้สัตว์ต้องตระหนักถึงคุณค่าของชีวิตสัตว์ -การใช้สัตว์ป่าต้องไม่ขัดต่อกฎหมายและนโยบายการ อนุรักษ์ป่า

4. จรรยาบรรณและ จริยธรรมทั่วไป

4.1. ประโยชน์ของจรรยาบรรณ

4.1.1. ช่วยควบคุมจริยธรรมของผู้ประกอบอาชีพ ให้มีความ ซื่อสัตย์สุจริต

4.1.2. ส่งเสริมมาตรฐานคุณภาพและปริมาณที่ดีมีคุณค่าและเผยแพร่ให้ รู้จัก เป็นที่นิยมเชื่อถือ

4.1.3. ส่งเสริมจริยธรรมของผู้ประกอบอาชีพและผู้ผลิต

4.1.4. ลดปัญหาอาชญากรรม