Atrial Septal Defect : ASD โรคผนังกั้นหัวใจห้องบนรั่ว

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
Atrial Septal Defect : ASD โรคผนังกั้นหัวใจห้องบนรั่ว by Mind Map: Atrial Septal Defect : ASD        โรคผนังกั้นหัวใจห้องบนรั่ว

1. ชนิด

1.1. Ostium secundum defect (พบ 90%)

1.1.1. รูเปิดอยู่ตรงกลางของ atrial septum ตรงตำแหน่ง fossa ovalis

1.2. Ostium primum defect (พบ 5%)

1.2.1. รูเปิดอยู่ด้านล่างของ atrial septum ใกล้ atrioventricular valve อาจพบร่วมกับความผิดปกติของ AV valve

1.3. Sinus venosus defect (พบ 5%)

1.3.1. รูเปิดอยู่ด้านหลังของ atrial septum บริเวณ ทางเข้าของ superior หรือ inferior vena cava มักพบร่วมกับ partial anomalous of pulmonary venous return จาก right pulmonary vein เข้าที่ right atrium

1.4. Coronary sinus

1.4.1. รูรั่วอยู่ที่ coronary sinus

2. ขนาดของ ASD

2.1. Small ASD

2.1.1. ขนาดเล็กกว่า 8 มิลลิเมตร

2.1.2. ปริมาณการไหลของเลือดผ่านปอดน้อยกว่า 2 เท่าของปริมาณการหลของเลือดผ่านร่างกาย

2.2. Moderate ASD

2.2.1. ปริมาณการไหลของเลือดผ่านปอดเป็น 2 เท่าของปริมาณการหลของเลือดผ่านร่างกาย

2.3. Large ASD

2.3.1. ปริมาณการไหลของเลือดผ่านปอดมากกว่า 2 เท่าของปริมาณการหลของเลือดผ่านร่างกาย

3. การวินิจฉัย

3.1. การซักประวัติ

3.1.1. ประวัติการติดเชื้อในระบบหายใจบ่อยๆ

3.1.2. การดูดนมใช้เวลานาน

3.2. การตรวจร่างกาย

3.2.1. ถ้าหัวใจโตมากทรวงอกด้านซ้ายจะนูนขึ้น

3.2.2. Small ASD

3.2.2.1. พบ midsystolic (ejection systolic) murmur grade 2-3 และ fixed spit S2 ที่ตำแหน่ง left upper sternal border

3.2.3. Large ASD

3.2.3.1. พบ diastolic murmur (relative tricuspid stenosis) ที่ตำแหน่ง left lower sternal border

3.2.4. คลำพบหัวใจห้องล่างขวาเต้นแรงกว่าปกติ

3.2.5. ฟังได้ยินเสียง Systolic Ejection Murmur บริเวณขอบซ้ายของกระดูกอกตอนบน

3.2.6. ฟังได้ยินเสียง Infomide Diastolic บริเวณขอบซ้ายของกระดูกอกตอนล่าง จากตีบของลิ้น Tricuspid

3.3. การตรวจพิเศษ

3.3.1. Electrocardiography

3.3.1.1. เด็กเล็กจังหวะหัวใจการเต้นเป็น Sinus Rhythm

3.3.1.2. เด็กโต, ผู้ใหญ่พบ Atrial Fibrillation หรือ Supraventricular Tachycardia

3.3.1.3. คลื่น P wave สูงแหลม

3.3.1.4. แกน QRS มักเอียงขวา

3.3.1.5. Electrocardiography

3.3.2. Chest radiograph

3.3.2.1. หัวใจด้านขวาโต

3.3.2.2. หลอดเลือแดงปอดมีขนาดใหญ่

3.3.3. Echocardiography

3.3.3.1. Right Ventricle โต

3.3.3.2. หลอดเลือด Pulmonary ใหญ่ขึ้น

3.3.3.3. บอกตำแหน่ง ขนาดของ ASD

3.3.4. Cardiac catheterization

3.3.4.1. ปริมาณการไหลของเลือดผ่านปอดน้อยกว่า 1.5 เท่าของปริมาณการไหลของเลือดผ่านร่างกาย

3.3.4.2. ค่าความเข้มข้นของออกวิเจนของเลือดใน Right Atrium เพิ่มขึ้น

3.3.4.3. ประเมินความรุนแรงของภาวะความดันหลอดเลือดแดงในปอดสูง หรือเพื่อการรักษาผ่านสายสวนโดยการใช้อุปกรณ์ปิดรูรั่ว

4. ความหมาย

4.1. โรคหัวใจแต่กำเนิดที่มีผนังกั้นหัวใจห้องบนรั่ว ทำให้เลือดไหลจากหัวใจห้องบนซ้ายไปห้องบนขวาได้ในจังหวะที่หัวใจบีบตัว

5. สาเหตุ

5.1. ภาวะผิดปกติของหัวใจห้องบนที่ถูกสร้างขึ้น จะมีรูเปิด (Foramen Ovara) และล้มเหลวในการเชื่อมปิดที่ช่วงอายุครรภ์ 4 - 6 สัปดาห์

6. การรักษา

6.1. ยา Digoxin

6.1.1. เพื่อรักษาอาการหัวใจวายที่อาจเกิดร่วมด้วย

6.2. การผ่าตัดเย็บปิด ASD

6.2.1. ใช้ Pericardial Pach

6.2.2. อายุที่เหมาะสมคือ 5 -10 ปี

6.3. Double Umbrella Device

6.3.1. ปิด ASD โดยไม่ต้อง Open Heart Surgery

6.3.2. ใช้ใน Secundum ASD เท่านั้น

7. อาการและอาการแสดง

7.1. Small ASD

7.1.1. ไม่มีอาการ / เหนื่อยง่าย

7.1.2. วินิจฉัยได้ด้วยความบังเอิญจากการตรวจพบเสียงหัวใจ ผิดปกติ

7.2. Large ASD

7.2.1. ช่วงวัยเด็กเล็กมักไม่มีอาการ

7.2.1.1. เมื่ออายุ 3-5 ปี จึงจะเริ่มมีอาการเหนื่อยง่ายกว่าเด็กทั่วไปเมื่อเล่นหรือออกกำลังกาย

7.2.2. อาจทำให้ผู้ป่วยมีอาการ exercise intolerance, dyspnea during exertion, fatigue, palpitation, atrial arrhythmias

7.2.2.1. หากเวลาผ่านไปจนเกิด Eisenmenger syndrome

7.2.3. อาจมี emboli จาก venous system ผ่านทาง ASD เข้าสู่ arterial system (paradoxical embolization)

7.2.3.1. นำไปสู่ cerebral หรือ systemic thromboembolism

8. ภาวะแรกซ้อน

8.1. หัวใจล้มเหลว

8.2. การติดเชื้อแบคทีเรียในหัวใจ

8.3. ลิ้นหัวใจรั่ว

8.4. การเจริญเติบโตช้า

8.5. หัวใจเต้นผิดจังหวะ