ครอบครัวที่ 9 ความรักในวัยเรียน

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ครอบครัวที่ 9 ความรักในวัยเรียน by Mind Map: ครอบครัวที่ 9 ความรักในวัยเรียน

1. ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล

1.1. 1.เสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์

1.1.1. วัตถุประสงค์

1.1.1.1. ป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์

1.1.2. ข้อมูลสนับสนุน

1.1.2.1. S:กรณีศึกษาบอกว่า “หนูรู้สึกเครียดไม่รู้จะแก้ปัญหายังไง”

1.1.2.2. S:กรณีศึกษาบอกว่า “ไม่มีใครรับฟังและเข้าใจหนูเลย”

1.1.2.3. S:ผู้ปกครองบอกว่า “เป็นห่วงแต่ไม่รู้จะพูดกับลูกยังไง”

1.1.2.4. O:ผู้ปกครองเป็นห่วงกรณีศึกษาโดยศึกษาข้อมูลในการเลี้ยงดูบุตรวัยรุ่นอยู่เสมอ

1.1.3. เกณฑ์การประเมินผล

1.1.3.1. วัยรุ่นมีทัศนคติที่ดีต่อผู้ปกครองไม่เกิดความขัดแย้งภายในครอบครัว

1.1.4. กิจกรรมการพยาบาล

1.1.4.1. ให้คำแนะนำการดูแลตนเอง

1.1.4.1.1. สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ป่วยและครอบครัวเพื่อให้ผู้ป่วยและครอบครัวไว้วางใจ

1.1.4.1.2. การหลีกเลี่ยงต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ เช่น การไม่เที่ยวเตร่ตามสถานเริงรมย์ต่างๆ การไม่ดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกฮอล์ การไม่คบหาบุคคลแปลกหน้า การแต่งกายรัดรูป การเปิดเผยสัดส่วนในที่สาธารณชน ตลอดจนการแสดงออกทางด้านกิริยา ท่าทางที่ยั่วยวนไม่เหมาะสม การถูกเนื้อต้องตัว โดยการโอบ การกอด

1.1.4.1.3. รู้จักทักษะการปฏิเสธ การรู้จักการปฏิเสธ เป็นการช่วยลดความต้องการทางเพศได้ เช่น คำว่า “ไม่ หยุด อย่า” ทั้งนี้ต้องเป้นการปฏิเสธที่มาจากความตั้งใจจริงที่จะหลีกเลี่ยงและป้องกันตนเองมากกว่า การเสแสร้งยั่งยวนหรือส่งเสริมอารมณ์ทางเพศมากขึ้น

1.1.4.1.4. รู้จักการคุมกำเนิด การคุมกำเนิดเป็นการป้องกันการตั้งครรภ์ได้ การคุมกำเนิดมีหลายวิธี การรู้จักเลือกวิธีในการควบคุมกำเนิดขึ้นอยู่กับความเหมาะสมความสะดวกของแต่ละคน แต่การรู้จักการคุมกำเนิดโดยใช้ถุงยางอนามัย เป็นวิธีการที่สะดวกประหยัด ได้ผลดีทั้งการป้องกันการตั้งครรภ์ และการปลอดภัยจากโรคทางเพศสัมพันธ์และโรคเอดส์แต่ขณะเดียวกัน การรู้จักวิธีการใช้ถุงยางอนามัยที่ถูกต้องก็เป็นสิ่งจำเป็น เพราะถุงยางอนามัยที่หมดอายุ และวิธีการใช้ไม่ถูกต้อง อาจก่อปัญหาขึ้นได้

1.1.4.1.5. ความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครอบครัว ความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครอบครัว เป็นการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศที่สำคัญอย่างหนึ่งของวัยรุ่น ความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างบุคคลในครอบครัวจะสร้างความรัก ความผูกพัน ความเข้าใจ ซึ่งเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับวัยรุ่น ตลอดจนการยึดมั่นเรื่องการรักนวลสงวนตัวก่อนถึงการแต่งงาน ก็จะช่วยลดพฤติกรรมที่เสี่ยงได้

1.2. 2.ผู้ปกครองมีทัศนคติเชิงลบต่อความรักในวัยเรียน

1.2.1. วัตถุประสงค์

1.2.1.1. เพื่อให้ผู้ปกครองมีทัศนคติในเรื่องความรักในวัยเรียนที่เหมาะสม

1.2.2. ข้อมูลสนับสนุน

1.2.2.1. s:ผู้ปกครองบอกว่า “ไม่รู้จะแก้ปัญหายังไง บางทีก็รู้สึกโมโหจึงพูดด้วยอารมณ์”

1.2.2.2. s:ผู้ปกครองบอกว่า “มีลูกสาวคนเดียวจึงเป็นห่วงมาก”

1.2.2.3. s:ผู้ปกครองบอกว่า “เป็นห่วงแต่ไม่รู้จะพูดกับลูกยังไง”

1.2.2.4. o:ผู้ปกครองเป็นห่วงกรณีศึกษาโดยศึกษาข้อมูลในการเลี้ยงดูบุตรวัยรุ่นอยู่เสมอ

1.2.3. เกณฑ์การประเมินผล

1.2.3.1. ผู้ปกครองมีทัศนคติที่ดีต่อความรักในวัยเรียนไม่เกิดความขัดแย้งภายในครอบครัว

1.2.4. กิจกรรมการพยาบาล

1.2.4.1. สร้างทัศนคติที่ดีเกี่ยวกับความรักในวัยเรียน เพราะเป็นเรื่องธรรมชาติที่ความรักจะเกิดได้ในวัยรุ่น

1.2.4.2. พูดคุย ทำความเข้าใจกับลูกด้วยน้ำเสียงที่นุ่มนวล เปี่ยมไปด้วยความรักและความเมตตา มีเหตุผลกับลูก

1.2.4.3. สร้างความไว้วางใจกันภายในครอบครัวโดยไม่โกหกซึ่งกันและกัน

1.2.4.4. ไม่ใช้อารมณ์และความรุนแรงภายในครอบครัวหรือนำอารมณ์มาตัดสินปัญหาภายในครอบครัว

1.2.4.5. ให้การมีอิสระกับลูก ไม่เคร่งครัดในกฎระเบียบจนเกินไป

1.2.4.6. ให้คำสอนและคำแนะนำ ทางด้านความรักในวัยเรียนอย่างถูกต้องและเหมาะสม

1.2.4.7. ไม่นำความคิดของตนเองเป็นใหญ่และเป็นตัวตัดสิน โดยรับฟังความคิดเห็นของคนรอบข้างและลูก

1.2.4.8. ส่งเสริมความสัมพันธ์ภายในครอบครัวโดยการหากิจกรรมทำร่วมกัน เช่น รับประทานอาหารพร้อมกัน หาเวลาไปเที่ยวด้วยกัน และกิจกรรมอื่น ๆ ที่ทำภายในครอบครัว เป็นต้น

1.3. 3.มีการเผชิญปัญหาไม่เหมาะสม เนื่องจากยังไม่บรรลุนิติภาวะ

1.3.1. วัตถุประสงค์

1.3.1.1. มีการเผชิญปัญหาได้อย่างเหมาะสม

1.3.2. ข้อมูลสนับสนุน

1.3.2.1. S : กรณีศึกษาบอกว่า “หนูกับแฟนไม่มีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันการตั้งครรภ์”

1.3.2.2. S : กรณีศึกษาบอกว่า “เคยอยู่ในที่ลับตาคนกับแฟน2ต่อ2แต่แฟนไม่ทำอะไร”

1.3.2.3. O : กรณีศึกษาชอบไปบ้านแฟนบ่อยๆโดยไม่บอกให้ผู้ปกครองทราบ

1.3.3. เกณฑ์ประเมินผล

1.3.3.1. ไม่เกิดการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์

1.3.4. กิจกรรมการพยาบาล

1.3.4.1. สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ป่วยและครอบครัวเพื่อให้ผู้ป่วยและครอบครัวไว้วางใจ

1.3.4.2. ให้ผูป่วยทำแบบประเมินความเครียด 2Q , 8Q , 9Q เพื่อเฝ้าระวังเมื่อเผชิญกับปัญหาต่างๆ ได้

1.3.4.3. กระตุ้นให้ผู้ป่วยพูดถึงความรู้สึกที่ทำให้เกิดความเครียด ความคับข้องใจ โดยพยาบาลเป็นผู้รับฟังที่ดี เพื่อค้นหาและทำความเข้าใจกับปัญหาหรือ ความขัดแย้งในใจ

1.3.4.4. เปิดโอกาสหรือกระตุ้นให้ผู้ป่วยพูดระบายความรู้สึกที่ของตนเอง ด้วยท่าที่เป็นมิตร และเข้าใจผู้ป่วยเพื่อให้ผู้ป่วยรู้สึกว่าตนเองไม่ได้อยู่คนเดียวและให้ผู้ป่วยได้ระบายความรู้สึกที่มีออกมาให้เกิดความสบายใจ

1.3.4.5. อยู่เป็นเพื่อนผู้ป่วย แสดงความเข้าใจผู้ป่วยด้วยท่าทีที่เป็นมิตรและจริงใจ เพื่อให้ผู้ป่วยรู้สึกว่ามีคนเข้าใจผู้ป่วยและให้ผู้ป่วยรู้สึกไว้วางใจและระบายความเครียดออกมา

1.3.4.6. แนะนำการฝึกทักษะคลายเครียด เช่น การหาที่ปรึกษา การทำกิจกรรมนันทนาการ การหางานอดิเรกทำ การเลี้ยงบุตรหลาน ไหว้พระสวดมนต์ เพื่อให้ผู้ป่วยรู้สึกผ่อนคลาย ไม่ให้ผู้ป่วยอยู่คนเดียวและเกิดความเครียดและรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง

1.3.4.7. แนะนำให้ผู้ป่วยนอนโดยการทำความสะอาดที่นอน หมอนไม่ควรแข็งเกินไปเพราะอาจเป็นสาเหตุที่ทำให้นอนไม่หลับ จัดสถานที่เงียบสงบ ปราศจากสิ่งรบกวนทั้ง แสงและเสียง สวดมนต์ก่อนนอน เพื่อให้ผู้ป่วยนอนหลับพักผ่อนได้โดยปราศจากสิ่งมารบกวนการนอนหลับ

1.3.4.8. ติดตามอาการของผู้ป่วยเพื่อประเมินผลการพยาบาลและนำไปสู่การวางแผนการพยาบาลต่อไปหากผู้ป่วยมีความเครียดที่ไม่ลดลง

1.4. 4.ส่งเสริมการให้คำปรึกษาแก่วัยรุ่น

1.4.1. วัตถุประสงค์

1.4.1.1. เพื่อให้วัยรุ่นมีทัศนคติที่ดีต่อผู้ปกครอง

1.4.2. ข้อมูลสนับสนุน

1.4.2.1. s:กรณีศึกษาบอกว่า “หนูรู้สึกเครียดไม่รู้จะแก้ปัญหายังไง”

1.4.2.2. s:กรณีศึกษาบอกว่า “ไม่มีใครรับฟังและเข้าใจหนูเลย”

1.4.2.3. s:กรณีศึกษาบอกว่า “ไม่ค่อยได้ออกไปเที่ยวกับครอบครัวหรือผ่อนคลาย เลยมีอะไรก็จะปรึกษากับแฟน”

1.4.2.4. o:กรณีศึกษาชอบไปบ้านแฟนบ่อยๆโดยไม่บอกให้ผู้ปกครองทราบ

1.4.3. เกณฑ์การประเมินผล

1.4.3.1. ไม่มีภาวะเครียดและมีการเผชิญปัญหาอย่างเหมาะสม

1.4.4. กิจกรรมการพยาบาล

1.4.4.1. พูดคุยสร้างสัมพันธภาพกับวัยรุ่นเพื่อให้เกิดความไว้วางใจ

1.4.4.2. รับฟังปัญหาต่าง ๆ เพื่อสำรวจปัญหาและความต้องการของวัยรุ่น

1.4.4.3. ให้คำปรึกษาโดยให้ข้อมูลที่เหมาะสมแก่วัยรุ่นและให้วัยรุ่นเป็นผู้ตัดสินใจโดยอยู่บนพื้นฐานของการรู้จักและเข้าใจตนเองและปัญหาต่างๆ

1.4.4.4. แนะนำการมองโลกในแง่บวก มองว่าปัญหาทุกอย่างมีทางออก ต้องมีสติในการแก้ไขปัญหา

1.4.4.5. ส่งเสริมให้วัยรุ่นรู้จักการค้นหาตัวตนและส่งเสริมให้เกิดความรู้สึกภาคภูมิใจในตนเอง เพื่อเข้าใจปัญหาและรู้จักการจัดการปัญหาอย่างเหมาะสม

1.4.4.6. ติดตามผลการให้คำปรึกษาเพื่อนำไปสู่การวางแผนการพยาบาลต่อไป

2. INHOMESSS

2.1. I Immobility การเคลื่อนไหว

2.1.1. เด็กหญิงวัยรุ่น อายุ 17 ปี สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้ ช่วยเหลือตนเองได้ อาบน้ำ ขับถ่ายปัสสาวะและอุจจาระ แต่งตัวเองได้ มีการพบปะกับเพื่อนต่างเพศหลายครั้ง ให้เวลากับเพื่อนต่างเพศ ไปเที่ยวและไปทำบุญด้วยกัน

2.2. N Nutrition อาหาร

2.2.1. เด็กหญิงวัยรุ่น อายุ 17 ปี • ชอบรับประทานก๋วยเตี๋ยว ผักและผลไม้เป็นประจำ • รับประทานอาหารวันละ 3 มื้อ • ดื่มน้ำ 8-9 แก้วต่อวัน ไม่ดื่มเหล้า ไม่สูบบุหรี่

2.3. H Housing สิ่งแวดล้อมที่อยู่อาศัย

2.3.1. สิ่งแวดล้อมภายในบ้านเป็นบ้านเดี่ยว 2 ชั้น มีอากาศถ่ายเทสะดวก มีการจัดวางโต๊ะ เก้าอี้ เป็นระเบียบ

2.3.2. บริเวณรอบบ้านมีต้นไม้ล้อมรอบ มีการปลูกพืชผักสวนครัว มีโต๊ะม้าหินหน้าบ้าน มีรั้วบ้านสูง ไม่มีพื้นที่น้ำขัง มีถนนหน้าบ้านเป็นซอยเข้าบ้านเล็กๆ

2.3.3. เพื่อนบ้านเป็นบ้านเดี่ยวมีต้นไม้ล้อมรอบ มีลักษณะคล้ายๆ กัน มีถนนหน้าบ้าน มีต้นไม้ขอบทางถนน

2.4. O Other people เพื่อนบ้าน

2.4.1. ครอบครัวนี้เป็นครอบครัวเดี่ยว ประกอบด้วย บิดา มารดา บุตรสาว โดยบิดา เป็นหัวหน้าครอบครัว บิดาจะจัดการ ควบคุม ดูแลทุกอย่างภายในบ้าน มีความขัดแย้งทางความคิดต่อกัน โดยบิดา มารดา อยู่ในช่วงวัยทำงาน ส่วนบุตรสาวอยู่ในช่วงวัยรุ่น

2.5. S Spiritual health ความเชื่อ ค่านิยมของสมาชิกในครอบครัว

2.5.1. ครอบครัวของเด็กหญิงวัยรุ่น อายุ 17 ปี นับถือศาสนาพุทธ ทำบุญกับเพื่อนต่างเพศ

2.6. M Medications การใช้ยา

2.6.1. ปฎิเสธการใช้ยา

2.7. E Examination การตรวจร่างกาย

2.7.1. คนในครอบครัวร่างกายแข็งแรง การแต่งกายสะอาด ไม่มีโรคประจำตัว

2.8. S Services แหล่งให้บริการ

2.8.1. มีทัศนคติที่ดีต่อสถานพยาบาลที่ไปรักษา

3. ปัญหาที่พบ

3.1. ครอบครัว

3.1.1. พ่อ แม่

3.1.1.1. พ่อ แม่ไม่เข้าใจลูก เรื่องลูกมีแฟน

3.1.1.1.1. พ่อกับแม่ให้อยู่ในกฏระเบียบมากเกินไป

3.1.1.1.2. ไม่มีการพูดคุยและแก้ไขเกี่ยวกับปัญหาภายในครอบครัว

3.1.1.1.3. ความห่วงใยที่มีให้ลูก

3.1.2. ลูก

3.1.2.1. ลูกไม่เข้าใจพ่อแม่

3.1.2.2. ต้องโกหกพ่อ เพื่อได้ไปเที่ยวกับแฟน

4. รายชื่อสมาชิก

4.1. 1.นางสาวกะชามาศ เซ่งเถี้ยน เลขที่ 3 รหัสนิสิต 5880200035 2.นางสาวจงกล กองถวิล เลขที่ 6 รหัสนิสิต 5880200060 3.นางสาวธันยพร เทพประดิษฐ์ เลขที่ 19 รหัสนิสิต 5880200221 4.นางาสาวเบญจภรณ์ รัตนนท์ เลขที่ 28 รหัสนิสิต 5880200311 5.นางสาวพัชราภา มะเด่น เลขที่ 39 รหัสนิสิต 5880200426 6.นางสาววนัดดา โชติมณี เลขที่ 49 รหัสนิสิต 5880200523 7.นางสาวอนงค์นาฎ คุณประสาท เลขที่ 66 รหัสนิสิต 5880200698 8.นางสาวทิฐินันท์ ทิพราช เลขที่ 70 รหัสนิสิต 5880200220