พ.ร.บ.การกระทำความผิดเกี่ยวับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2560

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
พ.ร.บ.การกระทำความผิดเกี่ยวับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2560 by Mind Map: พ.ร.บ.การกระทำความผิดเกี่ยวับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2560

1. ขั้นที่ 1 การอธิบาย

1.1. ต้องเฝ้าระวังกลุ่มแฮกเกอร์ และตรวจสอบหาช่องโหว่ป้องกันการบุกรุกทางคอมพิวเตอร์

1.2. รู้สึกตื่นเต้นกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้น และสงสัยว่าทำไมกลุ่มแฮกเกอร์ถึงต้องโจมตีเว็บไซต์

1.3. แฮกเกอร์ ถล่มเว็บไซต์ศาลยุติธรรม พบข้อความภาษาอังกฤษเรียกร้อง ความยุติธรรม

1.4. กลุ่มแฮกเกอร์ ถล่มเว็บไซต์สำนักงานศาลยุติธรรม หลังจากพิพากษาคดีเกาะเต่า

1.5. กลุ่มแฮกเกอร์บุกรุกเว็บไซต์ของสำนักงานศาลยุติธรรม จนไม่สามารถใช้งานได้

2. ขั้นที่ 2 ความรู้สึกต่อสถานการณ์

2.1. กลุ่มแอกเกอร์มีความผิดตาม พ.ร.บ คอมพิวเตอร์

2.2. กลุ่มแฮกเกอร์พยายามทวงถามความยุติธรรมต่อการสอบสวนคดีเกาะเต่าที่ไม่โปร่งใสและไม่ยุติธรรม ถึงจะมีความผิดทางพรบ.คอม แต่ผมก็เอาใจช่วย

2.3. รู้สึกสงสัยว่า ทำไมกลุ่มแฮกเกอร์ ถึงต้องถล่มหน้าเว็บไซต์ สำนักงานศาลยุติธรรม แล้วมีข้อความเขียนทิ้งไว้เพราะเหตุผลอะไรกันแน่

2.4. จากสถานการณ์ข้างต้น กลุ่มแฮกเกอร์อาจมองว่าคดีเกาะเต่ามีการติดสินที่ไม่เป็นธรรม จึงออกมาเรียกร้องโดยการใช้ภาพสีดำ และมีข้อความภาษาอังกฤษ

2.5. จากสถานการณ์ที่เกิดขึ้น และสงสัยว่าทำไมกลุ่มแฮกเกอร์ถึงต้องโจมตีเว็บไซต์ เพื่อร้องเรียนความยุติธรรม

3. ขั้นที่ 6 การวางแผนและปฏิบัติ

3.1. จากสถานการณ์ข้างต้นจะเป็นการเรียนรู้ได้จากปัญหา วางแผนการแก้ไขปัญหาไว้ล่วงหน้า หากเกิดสถานการณ์ดังกล่าวขึ้นอีกก็จะได้มีแนวทางแก้ไขได้อย่างทันท่วงที

3.2. จากปัญหาสถานการณ์ดังกล่าวที่โดนแฮกเกอร์ ถล่มหน้าเว็บไซต์ ก็ควรมีการตรวจสอบหาช่องโหว่ของเว็บไซต์ และป้องกันในส่วนนี้ต้องมีผู้เชี่ยวชาญมาดูแลระบบ

3.3. จากสถานการณ์ที่เกิดขึ้นทำให้มองเห็น2ด้าน ด้านความปลอดภัยของระบบเว็บไซต์ยังไม่ดีพอทำให้กลุ่มแฮกเกอร์สามารถโจมตีได้ สำนักงานศาลยุติธรรมต้องปรับแก้เรื่องนี้ ด้านความยุติธรรมของคดีทุกคดีซึ่งถ้าศาลยุติธรรมมีความโปร่งใสและบริสุทธิ์ในการพิพากษาคดีคงไม่เกิดเหตุการณ์แบบนี้

3.4. จากสถานการณ์ดังกล่าวควรมีผู้เชี่ยวชาญด้านระบบของเว็บไซต์ เพื่อป้องกันการแฮกอย่างทันท่วงที

3.5. จากสถานการณ์ข้างต้น ทางศาลกระทรวงยุติธรรมควรมีมาตรการป้องกันการแฮกเกอร์ของกลุ่มผู้บุกรุก

4. ขั้นที่ 3 การประเมินผล

4.1. กลุ่มแฮกเกอร์พยายามทวงถามความยุติธรรมซึ่งทางสำนักงานยุติธรรมชี้แจงว่าการกระทำครั้งนี้ไม่สามารถเปลี่ยนคำพิพากษาได้

4.2. จากสถานการณ์ข้างต้น มีทั้งดีและไม่ดี การเรียกร้องความยุติธรรม ความไม่โปร่งใสของคดี หรือกระบวนการทำงานของศาลอาจเป็นเรื่องที่ดี แต่การแฮ็กเว็บไซต์อาจเป็นเรื่องที่ไม่ดีเนื่องจากมีความผิดทางกฎหมายและเป็นแบบอย่างที่ไม่ดี

4.3. การแฮกระบบเว็บไซต์ เป็นการกระทำที่ผิด ถึงแม้จะทำเพื่อร้องเรียนความยุติธรรมแต่ก็ผิดกฎหมายอยู่ดี

4.4. ผู้บุกรุกทางคอมพิวเตอร์ ไม่สามารถเปลี่ยนแปลง การพิจารณา และคำพิพากษาศาลชั้นต้น

4.5. มีทั้งดีและไม่ดี เพราะต้องการเรียกร้องความยุติธรรม แต่มันทำให้สำนักงานศาลยุติธรรมไม่สามรถใช้งานเว็บไซต์ได้และสร้างความเสียหาย

5. ขั้นที่ 4 การวิเคราะห์

5.1. ข้อ 1 เหตุผลใดที่ทำให้แฮ็กเกอร์มีความผิด

5.1.1. เพราะกลุ่มแฮกเกอร์ ถล่มเว็บไซต์สำนักงานศาลยุติธรรม และมีความผิดทางพรบ.คอมพ์มาตรา 10,12

5.1.2. การแฮกระบบเว็บไซต์ ทำให้เกิดความเสียหาย ซึ่งมีความผิดตาม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์

5.1.3. เนื่องจากแฮ็กสำนักงานศาลยุติธรรม ซึ่งมีความผิดตามพรบ.คอมพิวเตอร์

5.1.4. เพราะได้สร้างความเสียหายต่อสำนักงานศาลยุติธรรม และกระทำผิด พรบ.คอมพิวเตอร์ มาตรา 10,12

5.2. ข้อ 2 ข้อมูลดังกล่าวน่าจะมาจากแหล่งใดมากที่สุด

5.2.1. ศาลยุติธรรม - โฆษกศาลยุติธรรม

5.2.2. เว็บไซต์ amnathos

5.2.3. โฆษกศาลยุติธรรม

5.2.4. โฆษกศาลยุติธรรม และ เว็บไซต์ www. amnathos.go.th/row.htm

5.3. ข้อ 3 วิธีแก้ปัญหาของสถานการณ์ที่ดีที่สุดคือวิธีใด

5.3.1. หากกระบวนการยุติธรรมเป็นไปอย่างโปร่งใส และไม่มีข้อโต้แย้งก็จะไม่เกิดการประท้วงหรือโจมตีขึ้น

5.3.2. แก้ที่ตัวเองก่อนเลยครับ กระบวนการยุติธรรมถ้ามันยุติธรรมจริงๆเค้าจะโจมตีทำไม

5.4. ข้อ 4 ข้อสรุปที่ดีที่สุดของสถานการณ์นี้คือ

5.4.1. กลุ่มแฮกเกอร์มีความผิดทางพรบ.คอมพ์ปี พ.ศ.2550 ซึ่งมีโทษตามมาตรา10 ฐานรบกวน ขัดขวาง ระบบคอมพิวเตอร์ ต้องระวางโทษจำคุก5ปี ปรับไม่เกิน100000บาท

5.4.2. กลุ่มแฮกเกอร์เรียกร้องความเป็นธรรมจากคดีเกาะเต่า โดยการแฮ็กและพิมพ์ข้อความเชิงเรียกร้องความยุติธรรมซึ่งมีความผิดตามพรบ.คอมพิวเตอร์ มาตรา 10 และ มาตรา 12 ซึ่งการกระทำดังกล่าวไม่สามารถเปลี่ยนแปลงคำพิพากษาได้

5.4.3. กลุ่มแฮกเกอร์เรียกร้องความเป็นธรรมจากคดีเกาะเต่า โดยการแฮ็กและพิมพ์ข้อความเชิงเรียกร้องความยุติธรรมที่หน้าเว็บไซต์หน้าแรกของสำนักงานศาลยุติะรรมซึ่งมีความผิดตามพรบ.คอมพิวเตอร์ มาตรา 10 และ มาตรา 12 และการกระทำดังกล่าวไม่สามารถเปลี่ยนแปลงคำพิพากษาได้

5.4.4. ถ้ากระบวนการยุติธรรมของศาลยุติธรรมนั้นมีความเป็นธรรมและโปร่งใสจริงๆ ก็จะไม่ทำให้เกิดเหตุการณ์เช่นนี้

5.4.5. การกระทำดังกล่าวถือว่าเป็นเรียกร้องความยุติธรรมโดยกลุ่มแฮ็กเกอร์ ซึ่งเป็นเรื่องที่ดี แต่ใช้วิธีการที่ผิดกฎหมาย ซึ่งการแก้ปัญหาดังกล่าวเป็นเรื่องที่ไกลตัวเรามากและไม่สามารถแก้ไขได้ด้วยตนเอง สามารถทำได้เพียงนำเอาความรู้ หรือข้อคิดไปปรับใช้กับตนเอง

6. ขั้นที่ 5 การสรุปผล

6.1. กลุ่มแฮกเกอร์เรียกร้องความเป็นธรรมคดีเกาะเต่าโดยแฮกเว็บไซต์ศาลยุติธรรม ซึ่งมีความผิดตามพรบ.คอมพ์

6.2. แฮกเกอร์ ถล่มเว็บไซต์ศาลยุติธรรม พบข้อความภาษาอังกฤษเรียกร้อง ความยุติธรรมแต่ก็ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงคำพิพากษานั้นได้

6.3. กลุ่มแฮกเกอร์ได้ทำการบุกรุกเว็บไซต์ของสำนักงานศาลยุติธรรม ยังไม่สามารถใช้งานได้ แต้เป็นเพียงการที่บุคคลภายนอกไม่สามารถใช้งานได้

6.4. กลุ่มแฮกเกอร์ ได้ถล่มเว็บไซต์ของสำนักงานศาลยุติธรรม เพื่อเรียกร้องความเป็นธรรมที่น่่าจะเชื่ิอมโยงของคดีเกาะเต่า และได้ทิ้งข้อความภาษาอังกฤษไว้ จากกระทำนี้ทำให้กลุ่มแฮกเกอร์ได้ถูกดำเนินคดีตามความผิด พรบ. ทางคอมพิวเตอร์ มาตรา 10,12 โทษจำคุก3-15 ปี