
1. 1 รามายณะ หรือ รามเกียรติ์
2. 2.ยชุรเวท = บรวงสรวง บูชายัญ
3. ศาสดา
3.1. ไม่ปรากฏแน่ชัดเพราะเป็นศาสนาที่เก่าที่สุด
3.2. มีพราหมณ์และพระฤาษีในการเผยแพร่ศาสนา
4. ศาสนาพราหมณ์ฮินดู
4.1. เป็นศาสนาประเภท พหุเทวนิยมนับถือพระเจ้าหลายพระองค์
4.2. มีพรเทพเจ้า3 องค์ คือ พระพรหม (สร้าง) พระศิวะ (ทำลาย) พระวิษณุ( รักษา)
4.3. เดิมมีชื่อเรียกว่า " สนาตธรรม" หมายถึง ศานาอันเป็นนิรันดร์
4.4. เกิดจากการเอ่ยนามเทพเจ้า3องค์ อะ+อุ+มะ
5. คัมภีร์ในศาสนา
5.1. ศรุติ
5.1.1. แบ่งออกเป็น 4 คัมภีร์
5.1.1.1. 4. อถรรพเวท = บทสวดเกี่ยวกับเวทมตร์ คาถาอาคม
5.1.1.2. 3. สามเวท = บทสวดมนตร์ ใช้ในพิธีกรรมถวายน้ำโสมแดพระอินทร์
5.1.1.3. 1.ฤคเวท = เก่าแก่ที่สุด บทสวดมนตร์สรรเสริญอ้อนวอนเทพเจ้า
5.2. สมฤติ
5.2.1. แปลว่าสิ่งที่จำไว้ได้
5.2.1.1. ปุราณะ = การกำเนิดเทพเจ้า 3 พระองค์
5.2.1.2. อุปนิษัท = เกี่ยวกับปรัชญาวิญญาณสากล และหลักปฏิบัติมนุษย์
5.2.1.3. ตันตระ = การสนทนาพระศิวะกับพระแม่ทุรคา การสร้างสรรพสิ่ง ความพินาศของโลก
5.2.1.4. อิติหาสะ = มหากาพย์ 2 เรื่อง
5.2.1.4.1. 2. มหาภารตะ เป็นมหากาพย์ที่ยาวที่สุดในโลก
5.2.1.5. ธรรมศาตร์ ตำราอธิบายลักษณะกฎหมาย
6. เป้าหมายสูงสุด
6.1. การหลุดพ้นจากการเวียนว่ายตายเกิด คือ อาตมัน ไปรวมกับ ปรมาตมัน เรียกว่า โมกษะ
7. ความเชื่อ
7.1. มษย์มีความไม่เท่าเทียม มีระบบวรรณะ
7.2. การแต่งงานข้ามวรรณะเรียกว่า "จัณฑาล"
8. หลักคำสอนสำคัญ
8.1. 1.หลักอาศรม 4 หมายถึง การดำเนินชีวิตของชาวฮินดู ในวัยต่างๆ
8.1.1. อาศรม1 (ปฐมวัย) เรียก พรหมจรรย์อาศรม (วัยเรียน) 8-25
8.1.2. อาศรมที่2 (มัชฌิมวัย) เรียก คฤหัสถาศรม (ครองเรือน) 25-50
8.1.3. อาศรมที่3 (ปัจฉิมวัย) เรียก วานปรัสถาศรม 50-75 (เข้าวัดฟังธรรม)
8.1.4. อาศรมที่4 (สันยัสตาศรม) 75ปีขึ้น ( การออกบวช)
8.2. ปุรุษารถะ4 = จุดมุ่งหมายชีวิต 4 ประการ
8.2.1. ธรรม : ผู้มีธรรม
8.2.2. กาม : การแสวงหาความสุขทางโลกตามหลักธรรม
8.2.3. อรรถ : การแสวงหาทรัพย์สิน
8.2.4. โมกษะ : การหลุดพ้นจากความทุกข์
8.2.4.1. การหลุดพ้น เรียกว่า โมกษคติ ทำโดยปฏิบัติ โยคะ4 หรือมรรค 4 ได้แก่
8.2.4.1.1. 1.กรรมมรรค : ทำหน้าของตนเองด้วยใจสงบ
8.2.4.1.2. 2.ชญานมรรค : ใช้สติปัญญาเพื่อให้รู้แจ้ง
8.2.4.1.3. 3.ภักติมรรค : ความจงรักภักดีต่อเทพเจ้า
8.2.4.1.4. 4.ราชมรรค : ฝึกฝนทางจิตใจอย่างเคร่งครัด
9. นิกาย
9.1. แบ่งออกเป็น 3 นิกาย
9.1.1. 1.นิกายไวษณวะ เชื่อในการอวตารของพระนารายณ์ เพื่อช่วยมนุษย์โลกในคราวทุกข์เข็ญ มีการเจิมหน้าผากเป็น3จุด เป็นเครื่องแสดงความเคารพ พระวิษณุ
9.1.2. 2.นิกายไศวะ หรือนิกายนับถือพระศิวะ ใช้มลูเถ้าสีขาวหรือสีเทาเขียนเป็นเส้นนอนตรงซ้อนกัน 3 เส้นที่หน้าผาก
9.1.2.1. พระศิวะเป็นเทพเจ้าแห่งการทำลายและเทพเจ้าแห่งการสืบพันธุ์ด้วยรู๔ปศิวลึงค์ เป็นรูปอวัยวะเพศของผู้ชายเป็นสัญลักษณ์การให้กำเนิด
9.1.3. 3.นิกายศักติ นับถือมเหสีเทพ3 พระองค์ คือ พระนางสุรัสวดี (พระพรหม) พระนางอุมา (พระศิวะ) พระนางลักษมี (พระวิษณุ) คำว่าศักติ แปลว่า อำนาจ
10. สัญลักษณ์
10.1. เครื่องหมายอันเป็นอักษรเทวนาครี เรียกว่า "โอม" หมายถึงเทพเจ้า 3 พระองค์
11. ศาสนสถาน
11.1. “เทวสถาน” หรือที่หลายท่านรู้จักในชื่อ “เทวาลัย” หรือเรียกแบบภาษาอย่างเป็นทางการว่า “โบสถ์พราหมณ์
12. พิธีกรรม
12.1. 1.ข้อปฏิบัติเกี่ยวกับวรรณะ
12.1.1. การแต่งงาน ผู้แต่งงานต้องแต่งงานในวรรณะเดียวกัน
12.1.2. อาหารการกิน วรรณะนั้นไม่กินอาหารร่วมกันกับคนต่างวรรณะ
12.1.3. เหสถานที่อยู้ ห้ามไปตั้งถิ่นฐานนอกประเทศ
12.2. 2.พิธีประจำบ้าน
12.3. 3พิธีศราทธ์
12.3.1. พิธีทำบุณอุทิศให้กับบิดามารดา ในเดือน10 ตั้งแต่แรม 1 ค่ำ ถึงแรก15ค่ำ
12.3.1.1. 1.การบูชากระทำด้วยข้าวบิณฑ์ คือก้อนข้าวสุก ผู้กระทำพิธีบรวงสรวงต้องเป็นบุตรชายเพราเชื่อว่าจะช่วยให้ผู้ล่วงลับพ้นจากนรกขุม ปุตตะ
12.3.1.2. 2. การทำบุญอุทิศให้มารดาบิดา ต้องทำเดือนละครั้ง
12.4. 4.พิธีบูชาเทวดา
12.4.1. ชาวฮินดูมีเทพหลายองค์ก่อนพุทธบูชาพระศิวะและพระวิษณุ
12.4.2. ต่อมาเกิดลัทธิอวตาร มีการบูชาพระกฤษณะและพระราม
12.4.3. บุคคลวรรณต่ำมักถูกกีดกันในการนับถือเทพเจ้าของคนวรรณะสูง
12.4.4. ควรรณะต่ำสร้างเทพเจ้าขึ้นเอง คือ เจ้าแม่กาลี เทพลิง เทพงู เทพเต่า
12.4.5. พิธีบูชาแต่ละวรรณะจะแตกต่างกันออกไป