มาตรา 40 ประเภทของเงินได้พึงประเมิน

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
มาตรา 40 ประเภทของเงินได้พึงประเมิน by Mind Map: มาตรา 40 ประเภทของเงินได้พึงประเมิน

1. มาตรา 40 (3)

1.1. 1 ค่าแห่งกู๊ดวิลล์ ค่าความนิยม เป็นผลมาจากการประกอบธุรกิจด้วยความยุติธรรม น่าเชื่อถือ

1.1.1. ต้องเป็นบริษัทเอกชนเจ้าของคนเดียว ไม่มีการระดมทุน

1.1.2. ถ้าจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลและมีค่าแห่งกู๊ดวิลลติดอยู่จะเป็น 40(4)(ช)

1.1.3. ถ้าเป็นการรวมกิจการ 40(4)(ฉ)

1.2. 2. ค่าสิทธิ ค่าตอบแทนการให้อนุญาตให้ใช้ทรัพย์สินทางปัญญา

1.2.1. ยกเว้น ค่าเช่าอุปกรณ์ลิมิเตด ถือเป็นอสังหาริมทรัพย์ ม.40(5)

1.3. 3. เงินรายปี ได้มาจากพินัยกรรม นิติกรรมอย่างอื่น

2. มาตรา 40 (4)

2.1. (ก) ดอกเบี้ย

2.1.1. ดอกเบี้ยพันธบัตร ดอกเบี้ยเงินฝาก ดอกเบี้ยหุ้นกู้

2.1.2. ผลต่างระหว่างราคาไถ่ถอนกับราคาจำหน่ายตั๋วเงิน

2.1.3. บริษัท ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล เป็นผู้ออกตั๋ว ให้กับบุคคลธรรมดาทอดแรก เท่านั้น!!!

2.1.3.1. บริษัท ก ขายตั๋วเงินให้กับนาง ง ซึ่งเป็นบุคคลธรรมดา ในราคา 94 บาท (ราคาไถ่ถอน 100) ดังนั้น 6 บาทคือ เงินได้ตามมาตรา 40(4)(ก) ถ้านาง ง ขายให้ นาย ข ในราคา 90 บาท นาย ข จะได้รับยกเว้นภาษีในเงินส่วน 10 บาท

2.2. (ข) เงินปันผล เงินส่วนแบ่งกำไร

2.2.1. มีการเครดิตภาษีจากที่เรานำเงินไปลงทุนในหุ้นของ wp

2.3. (ค) เงินโบนัสที่จ่ายให้ผู้ถือหุ้น

2.4. (ง) เงินลดทุน

2.5. (จ) เงินเพิ่มทุน

2.6. (ฉ) ผลประโยชน์ที่ได้จากการที่บริษัทเลิกกิจการ

2.7. (ช) ผลประโยชน์จากการโอนหุ้น

3. มาตรา 40 (5) เงินหรือประโยชน์อย่างอื่นที่ได้จาก

3.1. ก.การให้เช่าทรัพย์สิน

3.1.1. อสังหาริมทรัพย์+สังหาริมทรัพย์

3.1.2. เงินกินเปล่า เงินแป๊ะเจี๊ยะ

3.2. ข. การผิดสัญญาเช่าซื้อทรัพย์สิน

3.2.1. ไม่ยอมผ่อนชำระหลายงวดติดต่อกัน

3.2.2. คำนวณโดยเอาวันแรกจนถึงงวดที่ผิดชำระในปีภาษีเดียวกัน. แต่เงินที่ผ่อนมาแล้วสามารถเอาเครดิตภาษีได้

3.3. ค. การผิดสัญญาซื้อขายเงินผ่อน ซึ่งผู้ขายได้รับคืนทรัพย์สินที่ซื้อขายนั้น โดยไม่ต้องคืนเงินหรือประโยชน์ที่ได้รับไว้แล้ว

4. มาตรา 40(7)

4.1. เงินได้จากการรับเหมา

4.1.1. ผู้รับเหมาต้องลงทุนจัดหาสัมภาระในส่วนสำคัญนอกจากเครื่องมือ

4.1.2. รับเหมาทั้งค่าของและค่าแรงงาน

5. ม.40(1) เงินได้เนื่องจากการจ้างแรงงาน

5.1. 1. เงินได้เนื่องจากการจ้างแรงงาน

5.1.1. เป็นความสัมพันธ์ระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง

5.2. 2. เงินเดือน ค่าจ้าง เบี้ยเลี้ยง โบนัส เบี้ยหวัด บำเหน็จบำนาญ

5.2.1. อยู่ภายใต้สัญญาจ้างแรงงาน

5.3. 3 เงินค่าเช่าบ้านที่ได้รับจากนายจ้าง

5.4. 4 เงินที่คำนวณได้จากการได้อยู่บ้าน ที่นายจ้างให้อยู่โดยไม่เสียค่าเช่า

5.5. 5 เงินที่นายจ้างจ่ายชำระหนี้ใดๆ ให้ลูกจ้าง

5.6. 6 เงิน ทรัพย์สิน หรือประโยชน์ใดๆ บรรดาที่ได้เนื่องจากการจ้างแรงงาน

5.6.1. เบี้ยขยัน ค่าครองชีพ ค่าเล่าเรียนบุตร มูลค่าของการได้รับประทานอาหารฟรี

5.7. เกี่ยวข้องกับ มาตรา 42 เงินได้ที่ได้รับยกเว้น

5.7.1. 42(10) เงินค่าทดแทนและค่าทำศพ

5.7.2. 42(17) เงินค่ารักษาพยาบาลในประเทศไทย/ต่างประเทศ

5.7.2.1. เงินที่คำนวณได้จากมูลค่าเครื่องแบบ คนละไม่เกิน 2 ชุด/ปี เสื้อนอก 1 ตัว/ปี

6. มาตรา 40 (2)

6.1. 1 เงินได้เนื่องจากหน้าที่งาน หรือตำแหน่งงานที่ทำ หรือ จากการรับทำงานให้

6.2. 2 ค่าธรรมเนียม ค่านายหน้า ค่าส่วนลด

6.3. 3 เงินอุดหนุนที่ทำเบี้ยประชุม

6.4. 4 เงินค่าเช่าบ้านที่ได้รับเนื่องจากหน้าที่หรือตำแหน่งงาน หรือรับทำงานให้

6.5. 5 เงินที่คำนวณได้จากการได้อยู่บ้าน ผู้จ่ายเงิน โดยไม่เสียค่าเช่า

6.6. 6 เงินที่ผู้จ่ายเงินชำระหนี้ใดๆ ซึ่งผู้มีเงินได้มีหน้าที่ต้องชำระ

6.7. 7 เงินหรือทรัพย์สินใดๆ เนื่องจากฯ ไม่ว่าจะทำประจำหรือชั่วคราว

7. มาตรา 40(6). เงินได้เนื่องจากการประกอบวิชาชีพอิสระ

7.1. 1. กฎหมาย

7.1.1. เป็นลูกจ้างหรือข้าราชการ = 40(1)

7.1.2. การรับติดต่อกับส่วนราชการ = 40(2)

7.1.3. รับจ้างว่าความหรือให้คำปรึกษาทางกฎหมาย = 40(6)

7.2. 2. การประกอบโรคศิลปะ

7.2.1. ยกเว้น สัตวแพทย์

7.2.2. - เป็นลูกจ้างหรือข้าราชการของสถานพยาบาล = 40(1)

7.2.3. ทำสัญญารับจ้างตรวจคนไข้ที่สถานพยาบาลอื่นที่มิใช่ของนายจ้าง = 40(2) [ ให้นำมาคำนวณรวมกับ 40(1) หักค่าใช้จ่ายได้ไม่เกิน 100,000 ]

7.2.4. เป็นเจ้าของคลินิก/รักษาคนไข้โดยำม่มีเตียงรับไว้ค้างคืน = 40(6) หักค่าใช้จ่ายตามจริง หรือเหมาจ่ายอัตราร้อยละ 60

7.2.5. ประกอบกิจการสถานพยาบาล มีเตียงรับผู้ป่วยไว้ค้างคืน = 40(8)

7.3. วิศวกรรม

7.4. สถาปัตยกรรม

7.5. การบัญชี

7.6. ประณีตศิลปกรรม

8. มาตรา 40(8)

8.1. เงินได้จากการประกอบธุรกิจ

8.2. การพาณิชย์

8.3. การเกษตร

8.4. การอุตสาหกรรม

8.5. การขนส่ง บริการ

8.6. หรือการอื่นนอกจากที่ระบุใน ม.40(1)-(7)

8.7. มีต้นทุนสูง จึงสามารถหักค่าใช้จ่ายได้มาก