พยาบาล รพสต

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
พยาบาล รพสต by Mind Map: พยาบาล รพสต

1. 8.3) 17.3. กำหนดให้มี “สิทธิ” ในการหยุดพักภายหลังลงเวรดึก(Night shift)แล้ว ต้องได้สิทธิในการพักผ่อน(Rest period)อย่างน้อย 8 ชม.

2. Lit Review

2.1. ข้อมูลทั่วไป

2.1.1. เพศ

2.1.2. อายุ

2.1.3. อายุการทำงาน

2.2. เนื้องาน (JD)

2.2.1. ทักษะการปฏิบัติงาน

2.2.2. ชั่วโมงการทำงาน

2.2.2.1. นอกเวลาราชการ

2.2.2.2. ในเวลาราชการ

2.2.3. ใช้งานถูก Function

2.2.4. จังหวัดที่ทำงาน

2.3. กำลังคน

2.4. สุขภาพของผู้ปฏิบัติงาน

2.4.1. สุขภาพกาย

2.4.2. สุขภาพจิต

2.4.2.1. ขวัญและกำลังใจ

2.5. ค่าตอบแทน

2.5.1. ค่า OT

3. ความคาดหวัง

3.1. 8. อายุและชั่วโมงการทำงาน

3.1.1. 8.1) 17.1. กำหนดให้มีมาตรฐาน “จำนวนชั่วโมงปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ”

3.1.2. 8.2) 17.2"กำหนดให้มีมาตรฐาน "จำนวนชั่วโมงปฏิบัติงานติดต่อกัน"

3.1.3. อุปกรณ์ Support การทำงาน เช่น การทำ Report

3.1.4. 8.4) 17.4 กำหนดให้มี “สิทธิ” ในการหยุดพักโดยไม่ต้องถูกตามตัว (Rest period) อย่างน้อย 8 ชั่วโมงติดต่อกัน ภายหลังที่จำเป็นต้องปฏิบัติงานต่อเนื่องกัน 24 ชั่วโมง เช่น มีเหตุฉุกเฉิน(Emergency case), การผ่าตัดต่อเนื่อง, การรักษาติดพันต่อเนื่องเพื่อช่วยชีวิตผู้ป่วย

3.1.5. 8.5) 17.5. กำหนดให้มี วันหยุดที่ไม่ต้องถูกตามใด ๆ เลย (Day Off) อย่างน้อย 1 วัน/สัปดาห์ (4 วัน/เดือน)

3.1.6. 8.7) 17.11. การออกกฎหมาย “มาตรฐานชั่วโมงการปฎิบัติงานของบุคลากรสาธารณสุขเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วย (Working Time Directive, WTD)

3.1.7. 8.6) 17.6. กำหนดให้บุคคลที่มีอายุตั้งแต่ 55 ปี ขึ้นไป มี “สิทธิ” เลือกที่จะอยู่/ไม่อยู่เวรนอกเวลาราชการ

3.2. 9. ระบบการทำงาน

3.2.1. 9.1) 17.7."กำหนดให้ OPDมีระบบนัดหมาย (appointment)ผู้ป่วย เพื่อให้สถานพยาบาลสามารถกำหนดภาระงานที่แน่นอนได้"

3.2.2. 9.2) 17.8. กำหนดให้มี “เกณฑ์การใช้บริการห้องฉุกเฉิน” และหากจำเป็น ต้องกำหนดมาตรการแทรกแซง (Sanction) ในกรณีที่ขอใช้ห้องฉุกเฉินโดยไม่ได้มีเหตุเจ็บป่วยฉุกเฉินจริง ทั้งนี้ เพื่อปกป้องสิทธิในการรับการรักษาเร่งด่วน ของผู้ป่วยที่มีเหตุฉุกเฉินเร่งด่วนถึงแก่ชีวิต (Real Emergency)

3.2.3. 9.3) 17.9. กำหนดให้มี มาตรฐาน “สัดส่วนบุคลากรต่อจำนวนผู้ป่วย” เพื่อเพิ่มความมั่นใจให้กับผู้ป่วยในการได้รับการรักษาที่มีมาตรฐาน

3.2.4. 9.4) 17.12. กรณีมีความจำเป็นอันเนื่องมาจากความไม่พร้อมของระบบ และเป็นเหตุให้ท่านต้องปฏิบัติงานเกินกว่ามาตรฐานที่กำหนดไว้..............รัฐต้องออกกฎหมายคุ้มครองบุคลากรเพื่อให้ปลอดจากความรับผิดทางอาญา แต่ทั้งนี้ต้องไม่ตัดสิทธิในการเยียวยาช่วยเหลือผู้ป่วยที่ได้รับผลกระทบอันเนื่องมาจากความบกพร่องของระบบ (รัฐต้องไม่ผลักภาระการเยียวยามาให้สถานพยาบาลหรือบุคลากรต้องรับผิดชอบกันเอง)

3.3. 10. ค่าตอบแทน

3.3.1. 10) 17.10. สร้างระบบคำนวณ ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ที่เป็นธรรม

4. Patient Safety

5. ข้อมูลการทำงาน

5.1. 2. นโยบาย

5.1.1. 2.1) 1. ท่านทราบหรือไม่ว่า สภาการพยาบาล เคยประกาศ “นโยบายชั่วโมงการทำงานของพยาบาลเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วย”

5.1.2. 2.2) 2. นับแต่ที่ผ่านมาที่สภาการพยาบาลได้ประกาศแนวทางดังกล่าว โรงพยาบาลที่ท่านปฏิบัติงานได้มีมาตรการเพื่อให้เป็นไปตามคำแนะนำดังกล่าวหรือไม่

5.1.3. 2.3) 14. ท่านทราบหรือไม่ว่า ประเทศไทยมีกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน (พรบ.แรงงาน พ.ศ. 2541) ซึ่งได้กำหนดชั่วโมงการทำงาน (Working time) วันหยุดพัก (Day off) ระยะเวลาหยุดพักในระหว่างวัน(Rest period) และอัตราคิดค่าตอบแทนล่วงเวลา(OT) แต่ในกฎหมายได้ยกเว้น “ไม่บังคับ” ใช้กับบุคลากรสาธารณสุข"

5.1.4. 2.4) 15. ท่านทราบหรือไม่ว่า ในต่างประเทศ มีกฎหมายบัญญัติเรื่อง "จำนวนชั่วโมงการปฏิบัติงานของบุคลากรสาธารณสุข(WorkingTimeDirective, WTD)" ไว้เป็นการจำเพาะ รวมถึง "การกำหนดมาตรฐานสัดส่วน(Ratio)จำนวนบุคลากรต่อจำนวนผู้ป่วย" ทั้งนี้เพื่อเพิ่มความปลอดภัยในการดูแลรักษาผู้ป่วยและลดความผิดพลาดในการรักษาพยาบาลอันเนื่องมาจากความอ่อนล้าของบุคลากรสาธารณสุข"

5.1.5. 2.5) 16. ท่านคิดว่าเมื่อ"กฎหมายชั่วโมงการปฏิบัติงานบุคลากรสาธารณสุข (WorkingTimeDirective, WTD) มีผลบังคับใช้ ...หากเกิดกรณีที่ผู้ป่วยจำเป็นต้องได้รับการดูแลรักษาต่อเนื่อง (เช่น ผ่าตัด ติดตามอาการ สั่งการรักษาใกล้ชิด) แต่ท่านปฏิบัติงานครบแล้วหรืออยู่ในช่วงเวลาพัก(Rest period)ของท่าน ..........ท่านจะทำเช่นไร"

5.2. 3. การขึ้นเวร

5.2.1. 3.1) 3. ท่านเคย "รู้สึกเหนื่อยมากจนต้องการพักผ่อน" หรือ “เจ็บป่วย” แต่จำเป็นต้องขึ้นเวร เหตุเพราะไม่สามารถหาผู้อื่นมาปฏิบัติงานแทนท่าน หรือไม่

5.2.2. 3.2) 4. ท่านเคยจำเป็นต้องขึ้นเวร ทั้ง ๆ ที่ท่านมีธุระจำเป็นอย่างยิ่งยวด (เช่น บิดามารดา บุตร หรือญาติสายตรงเจ็บป่วย) แต่ไม่สามารถหาคนมาทำงานทดแทนเพราะติดเวร หรือไม่

5.3. 4. การปฎิบัติงานนอกเวลาราชการ

5.3.1. 4.1) 5. ท่านเคยต้องปฏิบัติงาน “นอกเวลาราชการ” (เวรบ่าย/เวรดึก/วันหยุดราชการ) > 40 ชม/สป. หรือไม่

5.3.1.1. 4.1.1) 6.1 เต็มใจในการทำงาน

5.3.1.2. 4.1.2) 6.2 ไม่เต็มใจในการทำงาน

5.3.2. 4.2) 12. ท่านคิดว่าจำนวนชั่วโมงของการปฏิบัติงาน “นอกเวลาราชการ” ที่เหมาะสม ซึ่งท่านจะสามารถปฏิบัติงานได้ด้วย ความมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัยต่อผู้ป่วย คือ …………… (ชั่วโมง/สัปดาห์)

5.3.3. 4.3) 13. ท่านมีความสุขกับการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ (อยู่เวร)

5.3.4. 4.4) 11. ท่านเคยต้องปฏิบัติงานต่อเนื่อง(นับทั้งในและนอกเวลาราชการ)โดยไม่ได้รับโอกาสให้หยุดพักแบบที่ไม่ต้องถูกตาม ตัว (Off เวรเป็นทางการ และ ไม่มีภาระผูกพันที่ต้องรับโทรศัพท์ปรึกษาใด ๆ) สูงสุดกี่ชั่วโมง (ท่านต้องทำงานต่อเนื่องโดยไม่ได้วันหยุดพัก...สูงสุดติดต่อกันกี่ชั่วโมง)

5.4. 5. การรับรู้ต่อผลกระทบของชั่วโมงการปฏิบัติงานที่มากเกินไป/การขาดการพักผ่อน

5.4.1. 5.1) 7. ท่านเคยพบเห็น/รับรู้ ถึงการเกิดเหตุไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลเสียร้ายแรงที่สุดต่อผู้ป่วย (ไม่ว่าจะเกิดจากตัวท่านหรือเพื่อนร่วมงาน) อันเนื่องมาจากชั่วโมงการปฏิบัติงานที่มากเกินไป/การขาดการพักผ่อนที่เพียงพอ หรือไม่"

5.4.2. 5.2) 8. ท่านเคยประสบ/พบเห็น/รับรู้ถึง เหตุการณ์อันตรายที่เกิดขึ้นต่อ “ตัวท่าน/เพื่อนร่วมงานของท่าน” อันเนื่องมากจาก การขาดการพักผ่อนที่พอเพียง หรือ ชั่วโมงการปฏิบัติงานที่มากเกินไปหรือไม่

5.5. 6.) 9.การปฏิบัติต่อผู้ป่วย ญาติผู้ป่วยในเชิงลบ (วาจาไม่สุภาพ แสดงอารมณ์หงุดหงิด)

5.6. 7.) 10.จำนวนผู้ป่วยในความรับผิดชอบ

6. 1.ข้อมูลทั่วไป

6.1. 1.1 เพศ

6.2. 1.2 อายุ

6.3. 1.3 จังหวัดที่ทำงาน

6.4. 1.4 ประเภทของโรงพยาบาล

6.5. 1.5 อายุการทำงาน

6.6. 1.6 สถานภาพการทำงาน