
1. ดุลการชำระเิงิน
1.1. ความหมายของดุลการชำระเงิน
1.1.1. ผลสรุปของการทำธุรกรรมทางเศรษฐกิจ (economic transactions) ระหว่างผู้มีถิ่นฐาน ในประเทศ (residents) กับผู้มีถิ่นฐานในต่างประเทศ (nonresidents) ในช่วงระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง
1.2. องค์ประกอบด้านดุลการชำระเงิน
1.2.1. * ดุลการค้า * ดุลบริการ * ดุลบริจาค * รายได้ * บัญชีทุน * รายการผิดพลาดคลาดเคลื่อนสุทธิ
2. การลงทุนระหว่างประเทศ
2.1. ความหมายของการลงทุนระหว่างประเทศ
2.1.1. คือ การที่ผู้ประกอบการของประเทศหนึ่งนำเงินทุน สินทรัพย์ และเทคโนโลยีไป ลงทุนในอีกประเทศหนึ่งโดยคาดว่าจะได้รับผลตอบแทนสูงกว่าในประเทศของตน
2.2. การลงทุนโดยตรง
2.2.1. การเครื่อนย้ายทุยจากประเทศหนึ่งไปยังอีกประเทศหนึ่งโดยเจ้าของยังมีอำนาจในหารดูแลกิจการที่ตนเปงเป็นเจ้าของ
2.3. การลงทุนโดยอ้อม หรือการลงทุนในสินทรัพย์ทางการเงิิน
2.3.1. การที่ผู้ลงทุนนำเงินออมของตนไปลงทุนผ่านสถาบันต่าง ๆ โดยที่สถาบันเหล่านั้นจะเป็นผู้ดำเนินงานและตัดสินปัญหาต่าง ๆ แทนผู้ลงทุนทั้งหมด
3. องค์กรและความร่วมมือระหว่างประเทศ
3.1. องค์การการค้าโลก WTO เป็นองค์การนานาชาติสังกัดองค์การสหประชาชาติทำ หน้าที่เกี่ยวข้องกับข้อตกลงทางด้านการค้าระหว่างชาติ เป็นเวทีสำหรับการเจรจาต่อรอง ตกลงและขจัดข้อขัดแย้งในเงื่อนไขและกฎเกณฑ์ทางการค้าและการบริการระหว่าง ประเทศสมาชิก
3.2. สหภาพยุโรป EU จัดตั้งขึ้นเพื่อยกระดับทางเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ ในทวีปยุโรปให้ดีขึ้น โดยอาศัยความร่วมมือของประเทศสมาชิก
3.3. เอเปค APEC มุ่งเน้นความเจริญเติบโตและการพัฒนาที่ยั่งยืนของภูมิภาค และผลักดันให้การเจรจาการค้าหลายฝ่าย รอบอุรุกวัย ประสบผลสำเร็จ ขณะเดียวกัน เอเปคก็ต้องการถ่วงดุลอำนาจทางเศรษฐกิจของกลุ่มเศรษฐกิจต่าง ๆ
3.4. เขตการค้าเสรีอาเซียน AFTA ป็นข้อตกลงทางการค้า สำหรับสินค้าที่ผลิตภายในประเทศสมาชิกอาเซียนทั้งหมด
4. การค้าระหว่างประเทศ
4.1. ความหมายการค้าระหว่างประเทศ
4.1.1. หมายถึง การแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการระหว่างประเทศ เกิดจากความแตกต่างทางทรัพยากรและปัจจัยการผลิตของแต่ละประเทศ
4.2. รูปแบบและแนวโน้มทางการค้าระหว่างประเทศของไทย
4.2.1. o เปลี่ยนจากรูปแบบการค้าที่มีศูนย์กลางในเอเชีย เป็นการค้าในรูปแบบประเทศในระบบอาณานิคม o เศรษฐกิจไทยถูกผนวกเข้ากับการแบ่งงานกันทำของประเทศอาณานิคมในเอเชีย – ส่งวัตถุดิบให้กับประเทศแม่ และเป็นตลาดระบายสินค้าที่ผลิตจากโรงงานในยุโรป o มีลักษณะเป็นเศรษฐกิจแบบ resource intensive ที่เน้นส่งออก ข้าว, ดีบุก, ไม้สัก (สัดส่วนรวมกันตั้งแต่ปี 1896-1939) ราว 70-80%
5. การค้าเงินระหว่างประเทศ
5.1. ความหมายของอัตราแลกเปลี่ยน
5.1.1. อัตราแลกเปลี่ยน (foreign exchange rate) คือ ราคาของเงินสกุลหนึ่งเมื่อคิดเทียบกับเงินตราต่างประเทศ เช่น 40 บาทต่อ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ
6. การกำหนดอัตราแลกเปลี่ยน
6.1. อุปสงค์ของเงินตราต่างประเทศ
6.1.1. คือ จำนวนการซื้อเงินตราต่างประเทศระดับอัตราแลกเปลี่ยนต่างๆ กัน ในช่วงเวลาใด เวลาหนึ่ง
6.2. อุปทานของเงินตราต่างประเทศ
6.2.1. จำนวนเงินตราต่างประเทศที่มีผู้นำมาเสนอขายในรัดับอัตราแลกเปลี่ยนต่างๆ กันในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง
6.3. อัตราแลกเปลี่ยนดุลยภาพ
6.3.1. จะเกิดขึ้นเมื่ออุปสงค์เงินตราต่างประเทศเท่ากับอุปทานเงินตราต่างประเทศ
7. ระบบอัตตราแลกเปลี่ยน
7.1. ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบคงที่
7.1.1. เป็นอัตราแลกเปลี่ยนที่กำหมดให้คงที่กับเงินตราสกุบหนึ่ง หรือ หลายสกุล
7.2. ระบบอัตราแลกเปลี่ยนลอยตัวหรืออัตราแลกเปลี่ยนที่เปลี่ยนแปลงได้
7.2.1. เป็นอัตราแลกเปลี่ยนที่เคลื่อนไหวขึ้นลงได้อย่างเสรี โดยอัตราแลกเปลี่ยนจะเป็นเท่าไรนั้นขึ้นอยู่กับอุปสงค์ ละ อุปทานของเิงินตราต่างประเทศ