การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินปัสสาวะ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินปัสสาวะ by Mind Map: การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินปัสสาวะ

1. Urinary Tract Infection

1.1. ความหมาย

1.1.1. การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ

1.2. สาเหตุ

1.2.1. แบคทีเรีย

1.2.1.1. แพร่กระจายขึ้นโดยตรง

1.2.1.2. ทางเลือด

1.2.1.3. ทางน้ำเหลือง

1.3. ชนิดการติดเชื้อ

1.3.1. ตำเเหน่ง

1.3.1.1. Upper

1.3.1.1.1. Pyelonephritis

1.3.1.1.2. Pyelitis

1.3.1.1.3. Ureteritis

1.3.1.2. Lower

1.3.1.2.1. Cystitis

1.3.1.2.2. Urethritis

1.3.1.2.3. Prostatitis

1.3.2. ลักษณะโรค

1.3.2.1. Uncomplicate

1.3.2.2. Complicate

1.4. ปัจจัยส่งเสริม

1.4.1. เพศ ญ>ช

1.4.2. สารคัดหลั่งจากต่อมลูกหมากรทำลายแบคทีเรีย น้อยลง

1.4.3. เพศ ญ พบการติดเชื้อเพิ่มในวัยหมด ประจำเดือน

1.4.4. ผู้สูงอายุจะมีการหลั่งโปรตีน ช่วยป้องกัน การติดเชื้อบางอย่างจากไตได้น้อยลง

1.4.5. ความผิดปกติทางเดินปัสสาวะ

1.4.5.1. VUR

1.4.5.2. phimosis

1.4.6. การสวนปัสสาวะ

1.4.7. เจ็บป่วยเรื้อรัง

1.4.8. ภาวะที่มีการอุดกั้นทางเดินปัสสาวะ

1.4.9. มีปัสสาวะคั่งค้างในกระเพาะปัสสาวะ

1.4.10. พฤติกรรม

1.4.11. ท้องผูก

1.5. อาการและอาการแสดง

1.5.1. การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะส่วนบน

1.5.1.1. < 1 ด.

1.5.1.1.1. มีไข้ Temp ต่ำ ซีด เหลือง กระวน กระวาย ชัก นน.ต่ำกว่าเกณฑ์

1.5.1.2. 1 ด. – 2 ปี

1.5.1.2.1. นน. น้อย ถ่ายเหลว อาเจียน มีไข้ ชักจากไข้สูง ปัสสาวะมีกลิ่นผิดปกติ ะบ่อย กะปริดกะปรอย ปัสสาวะไม่พุ่ง หรือต้องเบ่ง

1.5.1.3. 3-5 ปี

1.5.1.3.1. มีไข้ หนาวสั่น ปวดท้อง ปวดบั้นเอวหลัง เมื่อยตัว

1.5.1.4. > 5 ปี

1.5.1.4.1. มีไข้สูง หนาวสั่น N/V ปัสสาวะขุ่น ทุบ เจ็บบริเวณบั้นเอว

1.5.2. การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง

1.5.2.1. เด็กเล็กอาจมีปัสสาวะรดที่นอน บ่อย เล็ด ราด ร้องไห้เวลาถ่ายปัสสาวะ

1.5.2.2. เด็กโตจะบ่นเจ็บแสบเวลาถ่าย ปัสสาวะ ปวดบริเวณท้องน้อย บ่อย กะปริดกะปรอย อาจ มีปัสสาวะขุ่น มีเลือดปน

1.6. ผลตรวจ

1.6.1. ผลเลือด

1.6.1.1. U/A WBC>5 ตัว/HPF

1.6.1.2. U/C Bac 3+ - 4+

1.6.1.3. suprapubic aspiration

1.6.1.3.1. catheterized เพาะเชื้อขึ้น > 103 โคโลนี/ ml

1.6.1.3.2. clean-voided midstream เพาะเชื้อขึ้น > 105 โคโลนี/ml

1.6.1.4. พบ nitrite

1.6.1.5. BUN, Cr สูง

1.7. การรักษา

1.7.1. ทั่วไป

1.7.1.1. ให้ดื่มน้ำหรือให้สารน้ำทาง หลอดเลือดดำ

1.7.1.2. ให้อาหารอย่างเพียงพอ

1.7.1.3. ให้ยาลดไข้ ยาแก้ปวด

1.7.2. ยาปฏิชีวนะ

2. Acute Glomerulonephritis : AGN

2.1. ความหมาย

2.1.1. การอักเสบของหลอเลือดฝอยไตอย่างเฉียบพลัน

2.1.2. กลไกภูมิต้านทานภายหลังการติดเชื้อ

2.1.2.1. การติดเชื้อก่อนมีอาการ

2.1.2.1.1. ทางเดินหายใจ

2.1.2.1.2. ผิวหนัง

2.2. สาเหตุ

2.2.1. แบคทีเรีย

2.2.2. ไวรัส

2.2.3. พาราสิต

2.2.4. ริกเก็ตเซีย

2.2.5. เชื้อรา

2.2.6. อื่นๆ

2.2.6.1. ระบบภูมิคุ้มกัน

2.2.6.2. ยา

2.2.6.3. สารพิษ

2.3. อาการเเสดง

2.3.1. มี Pleural effusion, Pulmonary congestion,cardiomegaly

2.3.2. ปัสสาวะออกน้อย/ไม่ออก

2.3.3. บวมหนังตา ทั่วตัว กดไม่บุ๋ม

2.3.4. BP สูง

2.4. ผลตรวจ

2.4.1. ผลเลือด

2.4.1.1. GFR ลดลง

2.4.2. ปัสสาวะ

2.4.2.1. Protein 1+ 2+

2.4.2.2. Gross hematuria

2.4.2.3. Numerous RBC

2.5. การรักษา

2.5.1. การพักผ่อน

2.5.1.1. BP สูงเกิน 150/100 mmHg ปัสสาวะมีเลือดปน เหนื่อยหอบ งดใช้แรงมากอย่างน้อย 1 ปี

2.5.2. อาหารและน้ำดื่ม

2.5.2.1. จำกัดน้ำดื่ม

2.5.2.2. จำกัดเกลือ

2.5.2.3. จำกัด K

2.5.3. ยา

2.5.3.1. ขับปัสสาวะ

2.5.3.1.1. furosemide

2.5.3.2. ขยายหลอดเลือด

2.5.3.2.1. hydralazine

2.5.3.3. ปฏิชีวนะ

2.5.3.3.1. penicillin

2.5.3.3.2. chephaloosporins

2.5.4. อื่นๆ

2.5.4.1. ให้ออกซิเจนในรายเหนื่อยหอบ

2.5.4.2. การให้เลือด ในรายที่เสียเลือดทางปัสสาวะหรือมีภาวะซีดจากไต

2.5.4.3. การทำ peritoneal dialysis เพื่อนำของเสียออก

3. Nephrotic Syndrome

3.1. ความหมาย

3.1.1. โครงสร้างของหลอดเลือดฝอยไตถูก ทำลาย

3.2. สาเหตุ

3.2.1. ความผิดปกติทางพยาธิสภาพของไตโดยตรง

3.2.1.1. congenital nephrosis

3.2.1.2. ไม่ทราบสาเหตุ

3.2.1.3. มีความเสียหายที่หน่วยไต

3.2.2. โรคอื่นแล้วทำให้เกิดพยาธิสภาพที่เนื้อไต

3.2.3. ความผิดปกติทางพยาธิสภาพของไตโดยตรง

3.2.4. โรคอื่นแล้วทำให้เกิดพยาธิสภาพที่เนื้อไต

3.3. อาการแสดง

3.3.1. บวมทั้งตัว

3.3.2. บวมที่ใบหน้า บริเวณรอบตา

3.3.3. บวมกดบุ๋ม

3.3.4. มีน้ำในช่องท้อง

3.3.5. มีน้ำในเยื่อหุ้มปอด

3.3.6. แคมใหญ่หรือถุงอัณฑะบวมได้

3.3.7. อาการซีด

3.3.8. ทุพโภชนาการ

3.3.9. ภูมิต้านทานลดลง

3.3.10. ความดันโลหิตสูง ชั่วคราว

3.3.11. เบื่ออาหาร

3.4. ผลตรวจ

3.4.1. ผลเลือด

3.4.1.1. Serum alb. <2.5 g/dl

3.4.1.2. Cholesterol 450-1500 mg/dl

3.4.1.3. Na อาจสูง

3.4.1.4. Ca อาจต่ำ

3.4.2. ปัสสาวะ

3.4.2.1. Protein 3+ - 4+

3.4.2.2. เป็นฟอง

3.5. การรักษา

3.5.1. ทั่วไป

3.5.1.1. การหาแหล่งของเชื้อต่างๆ

3.5.1.2. อาหาร

3.5.1.2.1. โปรตีนคุณภาพดี

3.5.1.2.2. จำกัดเกลือ

3.5.1.2.3. จำกัดไขมัน

3.5.1.3. อาการบวม

3.5.1.3.1. Pt ปกติจะไม่จำกัดน้ำดื่มและจะไม่ให้ยาขับปัสสาวะ

3.5.1.3.2. บวมมาก การรักษาจะพิจารณาให้อัลบูมินที่ไม่มีเกลือ แล้วให้ยาขับปัสสาวะตาม

3.5.1.4. ให้ยาลดความดันโลหิต

3.5.1.5. ให้วัคซีนป้องกันโรคในเด็ก

3.5.1.6. ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและผู้ปกครอง

3.5.2. เฉพาะโรค

3.5.2.1. ยาสเตียรอยด์ นิยมใช้เพรดนิโซโลน

3.6. ภาวะเเทรกซ้อน

3.6.1. การติดเชื้อ

3.6.2. ภาวะทุพโภชนาการ

3.6.3. hypocalcemia

3.6.4. ภาวะเลือดแข็งตัวในหลอดเลือด

3.6.5. ภาวะไตวาย