พฤติกรรมการใช้โทรศัพท์มือถือที่ไม่เหมาะสมของวัยรุ่น

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
พฤติกรรมการใช้โทรศัพท์มือถือที่ไม่เหมาะสมของวัยรุ่น by Mind Map: พฤติกรรมการใช้โทรศัพท์มือถือที่ไม่เหมาะสมของวัยรุ่น

1. สถานการณ์การปัจจุบันที่เกี่ยวข้อง

1.1. เหตุการณ์

1.1.1. ในปัจจุบัน

1.1.1.1. พบว่ามีการใช้โทรศัพท์มือถือมากถึง 88.2%

1.1.1.2. ช่วงอายุ 15 ถึง 24 ปีมีอัตตราการใช้ใช้อินเตอร์เน็ตมากที่สุดคือปี2554 มีการใช้โทรศัพท์มือถือประมาณ 52% ในปี 2558 เพิ่มเป็นเกือบ 80%

1.1.1.3. (สมฤทัย ทรัพย์สมบูรณ์,2561)

1.1.2. สิ่งที่ต้องการ (target)

1.1.2.1. อยากอยากให้วัยรุ่นไทยฝึกใช้โทรศัพท์มือถือในเวลาที่เหมาะสม

1.1.2.2. ลดการใช้โทรศัพท์มือถือขณะเดิน กิน ก่อนนอน ตื่นนอนใหม่ๆ ขณะขับรถ เรียน ทำงาน ตอนเข้าห้องน้ำ

1.1.2.3. ลดลดความเสี่ยงต่อการป่วยเป็นโรคต่างๆที่ส่งผลกระทบเชิงวัฒนธรรม การใช้ชีวิตรวมถึงโรคโมโนโฟเบียหรือโรคติดโทรศัพท์มือถือ

1.1.2.4. (กรมสุขภาพจิต,2561)

1.2. ตัวชี้วัด

1.2.1. พฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนที่มี ต่อด้านความบันเทิงโดยภาพรวมอยู่ในระดับ มาก 3.87

1.2.2. นักศึกษามีพฤติกรรมการใช้ มากที่สุด คือ ใช้ เพื่อพาตนเองเข้ าสู่สังคม ออนไลน์ทั่วโลก Social Network 4.40 และใช้เพื่อฟังเพลง 4.34

1.2.3. พฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนที่มี ต่อด้านการศึกษาโดยภาพรวมอยู่ในระดับ มาก 3.56

1.2.4. พฤติกรรมการใช้มากที่สุดคือใช้ เพื่อค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับการบ้านที่ได้รับมอบหมาย 4.15 และค้นคว้าข้อมูลเพิ่ม เติมเกี่ยวกับการเรียนใน หลักสูตร 3.97

1.2.5. วารสารพัฒนาสุขภาพชุมชน,2560

2. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

2.1. พฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนและการรับรู้ภาวะสุขภาพของนักศึกษาพยาบาล

2.1.1. (จุฑามาศ กิตติศรี,2560)

2.1.2. ผลการศึกษากลุ่มตัวอย่างมีการใช้สมาร์ทโฟน ร้อยละ100 เป็นเพศหญิงร้อยละ90.5มี รายได้สว่ นใหญ่อย่ใู นช่วง 1001-4000 บาทต่อ เดือน ร้ อยละ 38.55 ส่วนใหญ่ มีระยะเวลาใน การใช้ สมาร์ ทโฟนมากกว่า 2 ชั่วโมง ร้ อยละ 31.3สว่นใหญ่มีจานวนครัง้ที่ใช้งานสมาร์ทโฟน มากกว่า12ครัง้ ร้อยละ36.30สถานท่ีใช้งาน มากที่สดุ คือหอพกั ร้อยละ89.94แอพลิเคชั่น

2.2. พฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนในชั้นเรียนของนักศึกษามหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

2.2.1. ผลการวิจัยพบว่านักศึกษาส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์มือถือในฉันเรียน เพื่อสืบค้นข้อมูลที่อาจารย์มอบหมายร้อยละ 50.5 และในบางครั้งได้ใช้โทรศัพท์มือถือเพื่อค้นหาเนื้อหาที่ไม่เข้าใจในระหว่างเรียนร้อยละ 46.8 นอกจากนั้นยังพบว่านักศึกษาใช้โทรศัพท์มือถือถ่ายรูปพาวเวอร์พ๊อยของอาจารย์แทนการบันทึกในบางครั้งร้อยละ 47.7 และนำมาใช้เพื่อติดต่อตามเพื่อนให้มาเข้าเรียนร้อยละ 56.7

2.2.2. (ธัญธัช วิภัติภูมิประเทศ,2559)

3. (แพทย์หญิง พวงทอง ไกรพิบูลย์,2557)

4. หลักการพื้นฐานทางวิชาการ

4.1. ความหมาย

4.1.1. โทรศัพท์มือถือ

4.1.1.1. อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในการสื่อสารสองทางผ่านโดยใช้คลื่นวิทยุในการติดต่อเครื่อข่าย

4.1.1.1.1. ( พัชรีพร ปาโน, 2555)

4.1.1.2. โทรศัพท์มือถือ มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ในยุคแรกๆ มีความสามารถ ในการโทรออก และรับสายแต่ปัจจุบันความสามารพื้นฐานที่เพิ่มขึ้น

4.1.1.3. โทรศัพท์มือถือมีรังสีไมโครเวฟที่ส่งผลกระทบต่อสมองหากได้รับปริมาณรังสีมากจะทำให้มีผลกระทบต่อสุขภาพ

4.1.1.3.1. (นันทวรรณ ผ่องมณี,2555)

4.1.2. รังสีจากโทรศัพท์มือถือ

4.1.2.1. ทำให้DNAของเซลล์ เกิดบาดเจ็บเสียหาย จัดเป็นรังสีอยู่ในประเภทเดียวกับรังสีคลื่นวิทยุ รังสีจากความร้อน รังสีจากแสงแดด และรังสีจากเตาไมโครเวฟ

4.1.3. พฤติกรรม

4.1.3.1. การกระทำหรืออาการที่แสดงออกทางกล้ามเนื้อ ความคิด และความรู้สึกเพื่อตอบสนองสิ่งเร้า

4.1.3.1.1. (เปลื้อง ณ นคร,2561)

4.2. ผลกระทบ

4.2.1. โทรศัพท์มือถือมีรังสีไมโครเวฟที่ส่งผลกระทบต่อสมอง

4.2.2. พักผ่อนไม่เพียงพอ

4.2.3. ตาพล่ามัวมึนงง

4.2.4. ปวดหู

4.2.5. ปวดศีษะ

4.2.6. ขาดสมาธิ

4.2.7. เกิดความเครียด

4.2.8. (นันทวรรณ ผ่องมณี,2555)

5. สาเหตุของปํญหา

5.1. ค่านิยม

5.1.1. มีแฟน

5.1.2. ตามเพื่อน

5.1.3. ติดเกมส์

5.1.4. ตามกระแส

5.2. ความสะดวกสบาย

5.2.1. การซื้อขายออนไลน์

5.2.2. การสืบค้นข้อมูล

5.2.3. การติดต่อสื่อสาร

5.3. ยุคสมัย

5.3.1. การพัฒนาของเทคโนโลยี

5.3.2. การใช้ชีวิต

5.4. สังคม

5.4.1. คนรอบข้าง

5.4.2. ครอบครัว

5.5. (จวรรณ เหลี่ยมจินดา,2557)

5.6. (ดร.วงศ์วิทย์ เสนะวงศ์,2556)