ความสัมพันธ์เนื้อหาบทที่ 1-3

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ความสัมพันธ์เนื้อหาบทที่ 1-3 by Mind Map: ความสัมพันธ์เนื้อหาบทที่ 1-3

1. ความหมายชีวิต สิ่งแวดล้อม และวิทยาศาสตร์

1.1. ชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพของสิ่งมีชีวิตพืช สัตว์และจุลินทรีย์

1.2. สิ่งแวดล้อม สื่งแวดล้อมที่มีชีวิตและไม่มีชีวิตที่อาศัยอยู่รอลตัวเรา

1.3. วิทยาศาสตร์ ความรู้หรือศาสตร์มาจากภาษาลาติน คำว่า Scientia

1.4. ประเภทชีวิตสิ่งแวดล้อม

1.4.1. 1.ธรรมชาติสร้างขึ้น หรือทรัพยากรธรรมชาติ

1.4.1.1. 1.1สิ่งมีชีวิต จัดเป็นสิ่งชีวิตที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ

1.4.1.1.1. 1.2 สิ่งไม่มีชีวิต จัดเป็นสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติที่ไม่มีชีวิตเคลื่อนที่ไม่ได้ ทั้งมองเห็นและไม่เห็น

1.4.1.1.2. ป่าไม้

1.4.1.1.3. สัตว์

1.4.1.1.4. จุลินทรีย์มนุษย์

1.4.1.2. 2.สิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้น

1.4.1.2.1. 2.1 รูปธรรม

1.4.2. ประโยชน์ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

1.4.2.1. 1.ปัจจัยสี่ ปกติโครงสร้างส่วนที่มีชีวิต เช่น ป่าไม้ สัตว์ป่า ทรัพยากรชายฝั่งหรือไม่มีชีวิต ได้แก่ ดิน น้ำ อากาศ มักนำไปใช้รักษาโรค เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย อาหาร

1.4.2.2. ปัจจัยห้า มนุษย์มักใช้โครงสร้าส่วนที่มีชีวิตและส่วนที่ไม่มีชีวิตในระบบนิเวศ เพื่ออำนวยความสะดวกแก่มนุษย์ระบบนิเวศต้องมีสัดส่วนเหมาะสมกับแหล่งอาศัย

1.4.3. 1.3 กระบวนการศึกษาทางวิทยาศาสตร์

1.4.3.1. ขั้นตอนที่ 1 การสังเกตและตั้งปัญหา สำรวจพื้นที่ลงภาคสนามจริง

1.4.3.2. ขั้นตอนที่ 2 การรวบข้อมูล รวบรวมความรู้และบูรณาการศาสตร์และเชื่อมโยงขององค์ความรู้พื้นฐานและประยุกต์

1.4.3.3. ขั้นตอนที่ 3 การตั้งสมมุติฐาน กรอบแนวคิดที่ได้

1.4.3.3.1. 3.1 สอดคล้องกับปัญหาทีวางไว้

1.4.3.4. ขั้นตอนที่ 4 การทดลองเป็นการพิสูจน์ว่าหรือเท็จ

1.4.3.5. ขั้นตอนที่ 5 การสรุป วิเคราะห์ประสิทธิภาพของนวัฒกรรมและเทคโนโลยีเทียบกับการไม่ใช้นวัฒกรรมและเทคโนโลยี

1.4.4. 1.4 ระดับการศึกษาชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

1.4.4.1. 1.ศาสตร์ระดับพื้นฐาน

1.4.4.1.1. จัดเป็นองค์ความรู้หรือศาสตร์เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม ที่ตอบคำถามที่ซับซ้อนไม่มาก เช่น ทำไม ?เหตุใด?

1.4.4.2. 2.ศาสตร์ระดับประยุกต์

1.4.4.2.1. จัดเป็นองค์ความรู้หรือศาสตร์เกี่ยวกับชีวิตกับสิ่งแวดล้อมที่ตอบคำถามซับซ้อน เช่น มนุษย์แปรรูปวัสดุเหลือใช้จากโรงการอุตสาหรรมและชุมชนด้วยเทคโนโลยี เพื่อก่อให้เกิดมูลค่าเพิ่ม ลดปัญหาแบบยั่งยืน?

1.5. แนวทางการอนุรักษ์ร่วมกับนวัฒกรรมและเทคโนโลยี

1.5.1. 1.การนำนวัตกรรมหัวจุลินทรีย์ร่วมกับเทคโนโลยีในการอนุรักษ์ การปรับปรุงแหล่งที่อยู่อาศัยในเหมาะสม การอนุรักษ์วิทยาชีวิตกับสิ่งแวดล้อมร่วมกับนวัตกรรมหัวเชื้อจุลินทรีย์ปฎิปักษ์หรือจุลินทรีย์โปรไบโอติกจากจุลินทรีย์ปฎิปักษ์ เช่น มายคลอไรซาที่เกาะรากพืชจัดว่าช่วยในการเปลี่ยนแปลงแอมโมเนรยให้เป็นไนเตรต

1.5.2. การแบ่งสัดส่วนดำเนินการอนุรักษ์ต่อการใช้ประโยชน์ในสัดส่วนที่เหมาะสม

1.5.2.1. ควรทีสัดส่วน 40:60 โดยแบ่งสัดส่วนอนุรักษ์ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 40 ส่วน สำหรับช่วยในการทำงานตามบทบาทหน้าที่ เช่น พลังงานตามกฎสิบเปอร์เซ็น ตามแนวความคิดหลักนิเวศ ทำให้โครงสร้างมีชนิด ปริมาณ ที่เหมาะสม

1.5.3. การประชาสัมพันธ์และการขยายนำไปปฎิบัติเพื่อบริหารอนุรักษ์

1.5.3.1. ต้องดำเนินการอนุรักษ์ด้วยวัฒกรรมและนวัฒกรรมและเทคโนโลยีที่เหมาะสม ต้องดำเนินการอนุรักษ์ตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ เพื่อขยายพื้นที่หรือทรัพยากรเพิ่มมากขึ้น เพื่อชี้แสดงให้เห็นว่ามนุษย์เห็นถึงความสำคัญ

2. สาเหตุและผลกระทบจาการไม่อนุรักษ์

2.1. 1. การเพิ่มจำนวนประชาการมนุษย์ มนุษย์เข้ามาครอบครองพื้นที่ดินมากขึ้น เพื่อประกอบอาชีพ การดำรงชีวิต

2.2. 2.การขยายตุัวทางด้านเศรษฐกิจ มีการปริโภคเกินกว่าความจำเป็น มีความอำนวยความสะดวกนานาชนิด เช่น การทำลายพื้นที่ป่าไม้

2.3. 3.ความเจริญก้าวหน้าด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีคว่ามเจริญก้าวหน้าทำให้มีการประดิษฐ์เครื่องมือที่ทันสมัยจำนวนมากเกินไป เช่น การโค่นต้นไม้

2.4. 4.ประชากรมนุษย์ขาดความรู้ มักถูกทำลายไปโดยมนุษย์รู้เท่าไม่ถึงการณล เช่น เกษตรกรไถพรวนดินผึ่งแดดก่อนเพาะปลูก

2.5. 5. เพื่อการนันทนาการ การล่าช้างป่าเพื่อเอางามาเป็นเครื่องประดับ

2.6. 6.การสร้างสิ่งก่อสร้างต่างๆ เช่น การตัดถนน การสร้างอ่างเก็บน้ำ เพื่อผลิดกระแสไฟฟ้าและชลประทาน

2.7. 7.sการดำเนินนโยบายรัฐ หน่วยงานรับผิดชอบการจัดการเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติขาดความศักดิ์สิทธิ์ เช่น กรณี กรมป่าไม้ปราบปรามผู้ที่ทำผิดเกี่ยวกับป่าไไม้

2.8. 8. ขาดการประชาสัมพันธ์ การเตือนให้เห็นถึงภันอันตรายต่างๆ ที่จะได้รับผลกระทบที่ธรรมชาติถูกทำลาย เช่น การเกิดอุทกภัยในภาคใต้

2.9. ผลกระทบ

2.9.1. 1.ผลกระทบการตรงต่อมนุษย์และสิ่งมีชีวิต ย่อมส่งผลให้มนุษย์เกิดโรคต่างๆ

2.9.1.1. ท้องร่วง

2.9.1.2. โรคบิด

2.9.1.3. โรคไข้ดำ

2.9.2. 2. ผลกระทบทางอ้อมที่มีต่อสิ่งแวดล้อมทั้งมีชีวิตและไม่มีชีวิต เมื่อระบบนิเวศเป็นพิษย่อมมีโครงสร้างสัมพันธ์กัน การอาศัยร่วมกันอาจจะได้รับผลกระทบไปด้วย เช่น อากาศ น้ำ ดิน

3. การทำงานของชีวิตกับสิ่งแวดล้อมที่ซับซ้อน

3.1. 1.1 การหมุนเวียนธาตุอาหารแบบวัฎจักร

3.1.1. ดวงอาทิตย์ 1% พืช 100 g สตว์กินพืช 10g สัตว์กินสัตว์ 1g ผู้ย่อยสลาย 0.1 g

3.2. 1.2 การถ่ายทอดสารอาหารผ่านห่วงอาหารหรือสายใยอาหาร

3.2.1. 1.ห่วงโซ่แบบจับกิน เช่น ผัก-แมลง- มนุษย์ -เชื้อรา

3.2.2. 2.ห่วงโว่อาหารแบบกินซาก เช่นเศษใบไม้ร่วง - เชื้อรา - แบคทีเรีย - อินทรีย์สารหรือสารอาหารหรือธาตุ - พืช

3.2.3. 3.ห่วงอาหารแบบพาราสิต เช่น ต้นไม้ -ไวรัส 1 -ไวรัส 2 -ไวรัส 3 -โรคใบหงิกงอ

3.3. 1.3 ความสัมพัธ์

3.3.1. ลักษณะรูปแบบความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตกับไม่มีชีวิต 7รูปแบบ

3.3.1.1. 1.การพึ่งพา +,+ ได้รับประโยชน์ทั้งสองฝ่าย แยกกันอยู่ไม่ได้ เช่น เชื้อราและสาหร่าย

3.3.1.2. 2.การได้รับประโยชน์ร่วมกัน ++ ได้รับประโยชน์ทั้งสองฝ่าย แยกกันได้ เช่น ดอกไม้กับผีเสื้อ

3.3.1.3. 3.การเกื้อกูล +,0 ไม่เสียประโยชน์จากการอยู่ร่วมกัน เช่น กล้วยไม้บนต้นไม้ใหญ่

3.3.1.4. 4.ผู้ล่า +,- มีสิ่งมีชีวิตหนึ่งเสียผลประโยชน์ เรียกว่า เหยื่อ เช่น เสื่อล่ากวาง

3.3.1.5. 5.ปรสิต +,- มีสิ่งมีชีวิตเสียผลประโยชน์ เรียกว่า ผู้ให้อาศัยและสิ่งมีชีวิตที่เสียผลประโยชน์เป็นโรค เช่น ไวรัสในตัวมนุษย์

3.3.1.6. 6.การไม่ได้และไม่เสียผลประโยชน์ 0,0 อยู่รวมกันได้โดยไม่เสียผลประโยชน์ เช่น เสือกับต้นไม้

3.3.1.7. 7.การแข่งขัน -,- เสียผลประโยชน์ทั้งคู่แข่งกันกันเจริญเติบโต เช่น เชื้อราสองชนิดในอาหารเลี้ยงเชื้อเดียวกัน

4. ประโยชน์ของทรัพยากรและความสำคัญ

4.1. ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมจัดเป็นสิ่งแวดล้อมที่สร้างขึ้น ในระบบนิเวศชีวมณฆล เพื่อช่วยในการสนับสนุนการทำงานให้ไปในตามบทบาทและหน้าที่อบ่างซับซ้อน บนหลักแนวคิดนิเวศวิทยา เพื่อการอนุรักาืทรัพยาการธรรมชาติและลดมลพิษหลังจากการใช้ประโยชน์และพัฒนาประเทศชาติ