การพัฒนาสมรรถนะในการปฏิบัติหน้าที่

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การพัฒนาสมรรถนะในการปฏิบัติหน้าที่ by Mind Map: การพัฒนาสมรรถนะในการปฏิบัติหน้าที่

1. คุณลักษณะ

1.1. เน้นที่คุณธรรม

1.2. ประพฤติให้เป็นที่รักและเคารพ

1.3. อดทน เสียสละ และมีเมตตา

1.4. ไม่มุ่งยศศักดิ์

1.5. ยึดมั่นในความดี

1.6. พระผู้ทรงเป็นครูของแผ่นดิน

2. วินัย คุณธรรม จริยธรรม สำหรับข้าราชการครู

2.1. วินัย

2.1.1. การรักษาวินัย

2.1.1.1. ปฏิบัติตามข้อกำหนดทางวินัย

2.1.2. ความผิดทางวินัย

2.1.2.1. ภาคทัณฑ์

2.1.2.2. ตัดเงินเดือน

2.1.2.3. ลดขั้นเงินเดือน

2.1.2.4. ปลดออก

2.1.2.5. ไล่ออก

2.2. คุณธรรม

2.2.1. สภาพของคุณงามความดี

2.3. จริยธรรม

2.3.1. ความถูกต้องดี

2.4. หลักธรรมสำหรับครู

2.4.1. กัลยาณมิตร 7

2.4.2. มรรค 8

2.4.3. พรมหวิหาร 4

2.4.4. อิทธิบาท 4

3. เจตคติที่ดีต่อวิชาชีพครู

3.1. การจัดการเรียนการสอน

3.1.1. วิธีการสอน

3.1.1.1. วิธีสอนโดยใช้การบรรยาย

3.1.1.2. วิธีสอนโดยใช้การสาธิต

3.1.1.3. วิธีสอนโดยใช้การทดลอง

3.1.1.4. วิธีสอนโดยใช้การนิรนัย

3.1.1.5. วิธีสอนโดยใช้อุปนัย

3.1.1.6. วิธีสอนโดยใช้การไปทัศนศึกษา

3.1.1.7. วิธีสอนโดยใช้การอภิปรายรายกลุ่มย่อย

3.1.1.8. วิธีสอนโดยใช้การแสดงละคร

3.1.1.9. วิธีสอนโดยใช้การแสดงบทบาทสมมติ

3.1.1.10. วิธีสอนโดยใช้กรณีตัวอย่าง

3.1.1.11. วิธีสอนโดยใช้เกม

3.1.1.12. วิธีสอนโดยใช้สถานการณ์จำลอง

3.1.1.13. วิธีสอนโดยใช้ศูนย์การเรียน

3.1.1.14. วิธีสอนโดยบทเรียนแบบโปรแกรม

3.2. เจตคติที่ดี

3.2.1. เจตคติที่ดีต่อลักษณะอาชีพของครู

3.2.2. เจตคติที่ดีต่อลักษณะการเป็นครู

3.2.3. เจตคติที่ดีต่อนักเรียน

3.2.4. เจตคติที่ดีต่อการเรียนการสอน

3.2.5. เจตคติที่ดีต่อความเจริญก้าวหน้าในหน้าที่การงานของครู

3.3. ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน

3.3.1. กระบวนการดำเนินงานของระบบดูแลนักเรียน

3.3.1.1. 1. การรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล

3.3.1.2. 2. การคัดกรองนักเรียน

3.3.1.3. 3. การส่งเสริมพัฒนานักเรียน

3.3.1.4. 4. การป้องกันและแก้ไขปัญหา

3.3.1.5. 5. การส่งต่อ

3.3.2. คุณสัมบัติของครูที่ปรึกษา

3.3.2.1. ด้านบุคลิกภาพ

3.3.2.2. ด้านมนุษยสัมพันธ์

3.3.2.3. ด้านคุณธรรมและความประพฤติ

3.3.2.4. ด้านความรู้ความสามารถ

3.3.2.5. ด้านจรรยาบรรณ

3.4. ความเป็นครู

3.4.1. อุดมการณ์ของครู

3.4.1.1. เต็มรู้

3.4.1.2. เต็มใจ

3.4.1.3. เต็มเวลา

3.4.1.4. เต็มคน

3.4.1.5. เต็มพลัง

4. การพัฒนาบุคลิกภาพ

4.1. องค์ประกอบของบุคลิกภาพ

4.1.1. โครงสร้างทางร่างกาย

4.1.2. ลักษณะทางด้านจิตใจ

4.1.3. ความสามารถ

4.1.4. ความคล่องแคล่วว่องไว

4.1.5. สติปัญญา

4.1.6. การแสดงตน

4.1.7. ความสนใจ

4.1.8. ความสามารถในการควบคุบตนเอง

4.1.9. ความสามารถในการเข้าสังคม

4.2. การสร้างและการพัฒนา

4.2.1. การสร้างและพัฒนาให้เหมาะสม

4.2.1.1. วิเคราะห์ตนเอง

4.2.1.2. ปรับปรุงแก้ไข

4.2.1.3. แสดงออกมาใหม่

4.2.1.4. ประเมินผล

4.2.2. หลักการพัฒนา

4.2.2.1. ตระหนักถึงความสำคัญของบุคลิกภาพ

4.2.2.2. สำรวจบุคลิกภาพของตนเอง

4.3. การวางตัวให้เหมาะสม

4.3.1. การนั่ง

4.3.2. การยืน

4.3.3. การเดิน

4.3.4. การไหว้

4.3.5. การรับไหว้

4.3.6. การจับมือ

4.3.7. การกราบ

4.3.8. การเคารพในที่ประชุม

4.3.9. การเคารพในสถานที่ที่จัดโต๊ะหมู่บูชา

4.3.10. การเข้าหาผู้ใหญ่

4.3.11. การรับและการส่งของ

4.3.12. การวางสีหน้า

4.3.13. การต้อนรับและการนัดหมาย

4.3.14. การได้รับบัตรเชิญ

4.3.15. การแนะนำตัว

4.3.16. การให้ของขวัญและของกำนัล

5. การพัฒนาตนเอง

5.1. ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการพัฒนาตนเอง

5.1.1. จุดมุ่งหมายของการพัฒนาตน

5.1.1.1. เพื่อประโยชน์ตน (อัตตัตถะ)

5.1.1.2. เพื่อประโยชน์ผู้อื่น (ปรัตถะ)

5.1.1.3. ประโยชน์ทั้งสองฝ่าย หรือประโยชน์ร่วมกัน (อุภยัตถะ)

5.1.2. แนวคิดและทฤษฎี

5.1.2.1. ลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์

5.1.2.2. ทฤษฎีความต้องการของเมอร์เรย์

5.1.2.3. ทฤษฎี 2 องค์ประกอบของเฮอร์เบอร์ก

5.1.2.3.1. ทฤษฎี x ทฤษฎี y

5.2. การเสริมแรง ลักษณะ วิธีการเสริมแรงตนเอง

5.2.1. การเสริมแรง

5.2.1.1. ทางบวก

5.2.1.2. ทางลบ

5.2.1.3. การลงโทษ

5.3. คุณลักษณะที่ผู้ประกอบวิชาชีพควรมี

5.3.1. เป็นนายหน้า

5.3.2. เป็นผู้รอบรู้ในเนื้อหาสาระที่เกี่ยวกับการเรียนการสอน

5.3.3. เป็นผู้มีความเข้าใจอย่างลึกซึ้งถึงกระบวนการเรียนรู้

5.3.4. เป็นผู้บริหารจัดการห้องรียน

5.3.5. เป็นผู้ที่เชื่อมโยงการจัดการเรียนรู้กับความต้องการจำเป็นของนักเรียน

5.3.6. เป็นผู้ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี

5.3.7. เป็นผู้ใส่ใจเกี่ยวกับสิทธิเด็ก

5.3.8. เป็นผู้พัฒนาตนเองให้มีอารมณ์ขัน

5.3.9. เป็นผู้สนใจในวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง

5.3.10. เป็นผู้ที่เชื่อถือได้ของนักเรียน เพื่อนร่วมอาชีพ ผู้ปกครองและชุมชน

5.3.11. เป็นผู้ยอมรับการเปลี่ยนแปลง

6. มาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพครู

6.1. มาตรฐานวิชาชีพ

6.1.1. มาตรฐานการปฏิบัตงาน

6.1.1.1. ข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ พฤติกรรมการปฏิบัติงาน

6.1.1.2. ผูัประกอบวิชชีพครู

6.1.2. มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ

6.1.2.1. ผู้ประกอบวิชาชีพครู

6.1.2.2. ผู้ประกอบวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา

6.1.2.3. ผู้ประกอบวิชาชีพผุ้บริหารสถานศึกษา

6.1.2.4. ผู้ประกอบวิชาชีพศึกษานิเทศก์

6.1.3. มาตรฐานการปฏิบัติตน 12 มาตรฐาน

6.1.3.1. ปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนาวิชาชีพครูอยู่เสมอ

6.1.3.2. ตัดสินใจปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ โดยคำนึงถึงผลที่จะเกิดกับผู้เรียน

6.1.3.3. มุ่งมั่นพัฒนาผู้เรียนให้เต็มตามศักยภาพ

6.1.3.4. พัฒนาแผนการสอนให้สามารถปฏิบัติได้เกิดผลจริง

6.1.3.5. พัฒนาสื่อการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพอยู่เสมอ

6.1.3.6. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเน้นผลถาวรที่เกิดแก่ผู้เรียน

6.1.3.7. รายงานผลการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนได้อย่างมีระบบ

6.1.3.8. ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้เรียน

6.1.3.9. ร่วมมือกับผู้อื่นในสถานศึกษาอย่างสร้างสรรค์

6.1.3.10. ร่วมมือกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ในชุมชน

6.1.3.11. แสวงหาและใช้ข้อมูลข่าวสารในการพัฒนา

6.1.3.12. สร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในทุกสถานการณ์

6.2. จรรยาบรรณวิชาชีพ

6.2.1. ข้อกำหนด

6.2.1.1. จรรยาบรรณต่อตนเอง

6.2.1.2. จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ

6.2.1.3. จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ

6.2.1.4. จรรยาบรรณต่อสังคม

6.2.1.5. จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ

7. การดำรงชีวิตที่เหมาะสม

7.1. คุณธรรมตามหลักศาสนา

7.1.1. หลักธรรมสำหรับครู

7.1.1.1. อิทธิบาท 4

7.1.1.2. โลกปาลธรรม

7.1.1.3. ธรรมอันทำให้เกิดงาน

7.1.1.4. พรหมวิหาร 4

7.1.1.5. อคติ 4

7.1.1.6. สัปปุริสธรรม 7

7.1.1.7. มรรค 8

7.1.1.8. ทศพิธราชธรรม 10

7.1.2. คุณธรรมตามหลักของศาสนาคริสต์

7.1.2.1. คุณธรรมหลัก 4 ประการ

7.1.2.2. คุณธรรมทางเทววิทยา

7.1.2.3. บัญญัติ 10 ประการ

7.1.2.4. มหาบุญลาภ 8 ประการ

7.1.2.5. บาป 7 ประการ

7.1.3. คุณธรรมตามหลักของศาสนาอิสลาม

7.1.3.1. หลักการปฏิบัติของศาสนาอิสลาม

7.1.3.2. หลักการอิสลามพื้นฐานพื้นฐานประการสุดท้าย

7.1.3.2.1. อิหุซาน

7.1.3.2.2. อิหุซาน

7.1.3.3. คุณธรรมที่ต้องประพฤติ

7.1.3.4. คุณธรรมที่ละเว้น

7.1.4. คุณธรรมตามหลักของศาสนาพราหมณ์- ฮินดู

7.1.4.1. ศาสนาพราหมณ์

7.1.4.1.1. ไม่มีศาสดา

7.1.4.1.2. ไม่มีหลักความเชื่อที่เป็นกลาง

7.1.4.2. ศาสนาฮินดู

7.1.4.2.1. พระพรหมเป็นสิ่งที่สูงสุด

7.2. การดำเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง

7.2.1. หลักการของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

7.2.1.1. 3 ห่วง

7.2.1.1.1. ความพอประมาณ

7.2.1.1.2. ความเป็นเหตุผล

7.2.1.1.3. ความมีภูมิคุ้มกันที่ดี

7.2.1.2. 2 เงื่อนไข

7.2.1.2.1. ความรอบรู้

7.2.1.2.2. คุณธรรม

7.2.2. การปฏิบัติตามแนวทางของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

7.2.2.1. ยึดถือความประหยัด

7.2.2.2. ยึดถือการประกอบอาชีพสุจริต

7.2.2.3. ละ เลิกการแก่งแย่งผลโยชน์

7.2.2.4. ไม่หยุดนิ่งที่จะหาทางให้ชีวิตหลุดพ้นจากความทุกข์ยาก

7.2.2.5. ปฏิบัติตนในแนวทางที่ดี

7.3. แนวคิดทฤษฎีอุปนิสัย 7 ประการ

7.3.1. การเป็นผู้มีความคิดก้าวหน้า

7.3.2. การเริ่มต้นด้วยจุดมุ่งหมายในใจ

7.3.3. การทำตามลำดับความสำคัญ

7.3.4. การคิดแบบชนะ-ชนะ

7.3.5. การเข้าใจผู้อื่นก่อนจะให้ผู้อื่นเข้าใจเรา

7.3.6. การประสานพลัง

7.3.7. การลับเลื่อยให้คมอยู่เสมอ