จิตวิทยาพัฒนาการวัยก่อนคลอด

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
จิตวิทยาพัฒนาการวัยก่อนคลอด by Mind Map: จิตวิทยาพัฒนาการวัยก่อนคลอด

1. การส่งเสริมพัฒนาการและการปรับตัว

1.1. ด้านสุขภาพร่างกายของมารดา

1.1.1. นวด

1.1.2. รับประทานอาหารที่มีประโยชน์

1.1.3. ออกกำลังกายอย่างเหมาะสม

1.2. ด้านจิตใจและอารมณ์ของมารดา

1.2.1. คิดบวก

1.2.2. ไม่เครียด

1.2.3. ยิ้มรับทุกสถานการณ์

1.3. ด้านสังคมของมารดา

1.3.1. มบความรักแก่ตนรอบข้าง

2. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการปรับตัวของวัยก่อนคลอด

2.1. 1. ด้านโภชนาการ แม่ตั้งแน่นทุกคนควรทานอาหารที่ดีและมีประโยชน์

2.1.1. ทานครบ5หมู่

2.1.2. ใส่ใจในเรื่องของวิตามิน

2.1.3. หลีกเลี่ยงอาหารที่มีความเสี่ยงต่อการตั้งครรภ์

2.2. 2. การแข็งตัวระหว่างการตั้งค่า

2.3. 3. อารมณ์ของแม่ตั้งครรภ์

2.4. 4. การใช้ยารักษาโรคลำไส้อักเสบ (Thalidomide)

2.5. 5. บุหรี่สุรา

2.6. 7. สารที่เป็นพิษ เช่นอยู่ในสถานที่ที่มีสารเคมีอยู่ในโรงงานที่มีมลทิน

3. ภาวะวิกฤตของวัยก่อนคลอด

3.1. อายุของมารดา

3.1.1. อายุมากกว่า35ปี

3.1.2. อายุน้อยกว่า16ปี

3.2. โรคเบาหวาน

3.3. โรคแพ้ภูมิตัวเอง

3.4. น้ำคร่ำมากหรือน้อยเกินไป

3.5. ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด

3.6. มีเลือดออกผิดปกติขณะตั้งครรภ์

3.7. ก่อนกำหนดคลอดหรือรกเกาะต่ำที่สุด

3.8. มีการติดเชื้อ เช่น เชื้อไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ต่าง ๆ

4. วัยก่อนคลอดคืออะไร?

4.1. วัยก่อนคลอดเริ่มมีจุดกำเนิดของชีวิตเกิดขึ้นคือไซโกต (zygote)

4.2. เป็นเซลล์ที่ผสมระหว่างเซลล์สืบพันธุ์ของเพศชายเรียกว่าสเปอร์ม (spermatozoa) กับเซลล์สืบพันธุ์ของเพศหญิงเรียกว่าไข่ (ovum)

4.3. มีการพัฒนาเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องช่วงอายุคลอดประมาณครึ่งวันหรือประมาณ 40 สัปดาห์

5. พัฒนาการของวัยก่อนคลอด

5.1. ระยะ เวลาไข่ผสมแล้ว(ระยะเวลาของ zygote หรือ ovum)

5.1.1. หลังจากที่ได้รับการช่วยเหลือเกิดขึ้นแล้ว จะได้รับการรักษาด้วยวิธีการทางเภสัชวิทยาที่ใช้เวลาประมาณ 1 สัปดาห์ ระหว่างการเดินทางจะมีการแบ่งตัวแบบไมโตซิส (mitosis) ตลอดชีวิต เวลาในช่วง 2-3 วันแรก 4-5 วันต่อมาจะมีการแบ่งตัวแบบไมโอซิส (ไมโอซิส) ทำให้เซลล์ต่าง ๆ เกิดขึ้น

5.2. ระยะตัวอ่อน (ตัวอ่อน)

5.2.1. สัปดาห์ที่ 2 เซลล์ของตัวอ่อนจะแบ่งตัวออกเป็น 2 ชั้นคือชั้น ectoderm และชั้น endoderm ตัวอ่อนระยะนี้มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2-3 มม.

5.2.2. สัปดาห์ที่ 3-4 เซลล์ของตัวอ่อนเจริญเติบโตอย่ำงรวดเร็วเป็นเนื้อเยื่อ (tissue) ตัวอ่อนเริ่มเป็นรูปร่างยาว ประมาณ 1/5 นิ้ว และมีขนาดเป็น 40,000 เท่าของขนาดไข่ที่มีการปฏสินธิ

5.2.2.1. อวัยวะแรกที่สร้างคือระบบประสาทส่วนกลาง

5.2.2.2. ต่อมาจะมีการสร้างสมอง หัวใจ ศีรษะ ใบหน้า หู จมูก ตา แขน ขา

5.2.2.3. จำนวนปล้องของลำตัว จะพัฒนาเป็นตับ หัวใจซึ่งมีร่องแบ่งกั้นชัดเจน นอกจากนี้ยังมีส่วนของกระบังลม และช่องท้อง

5.2.3. สัปดาห์ที่ 5-8 ตัวอ่อนจะยาวประมาณ 1-2 นิ้ว น้ำหนัก 2.25 กรัม เริ่มมีลักษณะใกล้เคียงกับมนุษย์มากขึ้น อวัยวะต่าง ๆ เริ่มพัฒนาขึ้น รูปร่างภายนอกเริ่มปรากฏชัดขึ้น

5.3. ระยะชีวิตใหม่หรือระยะที่เป็นตัวเด็ก (fetus period)

5.3.1. เดือนที่ 3 ทารกมีน้ำหนักประมาณ 20-30 กรัม ยาวประมาณ 3 นิ้ว

5.3.1.1. อวัยวะทุกส่วนของร่างกายพัฒนาขึ้น

5.3.1.2. สามารถตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่มากระตุ้นได้มากขึ้น

5.3.2. เดือนที่ 4 ความยาวของทารกประมาณ 8-9 นิ้ว น้ำหนักประมาณ 180 กรัม

5.3.2.1. เห็นเพศชัดเจนขึ้น

5.3.2.2. เริ่มดูดนิ้วและกำมือได้ สามารถดูดกลืนได้

5.3.3. เดือนที่ 5 น้ำหนักประมาณ 360 กรัมถึง 1 ปอนด์ ความยาวประมาณ 10-12 นิ้ว

5.3.3.1. เริ่มมีผมและเล็บเกิดขึ้นผิวหนังมีไขมันปกคลุม ทารกจะมีการเคลื่อนไหวหรือพักตัวในท่าที่ชอบ

5.3.4. เดือนที่ 6 น้ำหนักประมาณ 600 กรัม ยาวประมาณ 14 นิ้ว

5.3.4.1. ตาจะมีการพัฒนาอย่างสมบูรณ์

5.3.5. เดือนที่ 7 น้ำหนักประมาณ 3-5 ปอนด์ยาวประมาณ 16 นิ้ว

5.3.5.1. พัฒนาการด้านปฏิกิริยาตอบสนองเป็นไปได้อย่างเต็มที

5.3.6. เดือนที่ 8 น้ำหนักประมาณ 5-7 ปอนด์

5.3.7. เดือนที่ 9-10 น้ำหนักประมาณ 7 ปอนด์