Get Started. It's Free
or sign up with your email address
มลพิษทางอากาศ by Mind Map: มลพิษทางอากาศ

1. วิธีการใส่ Mask

1.1. Mask ธรรมดา

1.1.1. 1. ล้างมือให้สะอาดก่อนสวมใส่หน้ากาก

1.1.2. 2. สวมหน้ากากให้คลุมทั้งจมูกและปาก โดยให้ขอบที่มีลวดอยู่ด้านบนสันจมูกและรอยจีบพั[คว่ำลง เอาด้านที่มีสีเข้มหรือลักษณะมันวาวอยู่ด้านนอก

1.1.3. 3. หน้ากากที่ทำด้วยกระดาษควรเปลี่ยนวันละครั้งและทิ้งในถังขยะที่มีฝาปิดแหน้ากากที่ทำ ด้วยผ้าสามารถนำมาซัก ผึ่งแดดให้แห้งและนำมาใช้ได้อีก

1.1.4. 4. หากหน้าชำรุดหรือเปรอะเปื้อนควรเปลี่ยนใช้ชิ้นใหม่

1.2. Mask N95

1.2.1. 1. ล้างมือให้สะอาดก่อนสวมใส่หน้ากาก N95

1.2.2. 2. เลือกขนาดของหน้ากาก N95 ให้เหมาะสมกับผู้ใส่

1.2.3. 3. นำสายรัดออกมา และมือไว้ด้านหน้า

1.2.4. 4. ใส่หน้ากากให้ครอบปิดทั้งหูทั้งจมูกและคาง

1.2.5. 5. ดึงสายรัดเส้นล่างไว้ใต้หู

1.2.6. 6. ดึงสายรัดเส้นบนไว้หลังศีรษะ

1.2.7. 7. กดโครงลอดให้แนบชิดบริเวณสันจมูก

1.2.8. 8. ทำการ fit test ให้มือสองข้างนาบที่หน้ากาก

1.2.9. 9. ลองหายใจแรงๆ ถ้าหน้ากากแนบสนิทจะไม่มีลมออกมา

2. โรคหอบหืด

2.1. สาเหตุ

2.1.1. 1. ปัจจัยทางพันธุกรรม

2.1.1.1. โรคหอบหืดเป็นโรคที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม ที่มีบิดา มารดาหรือญาติจะมีโอกาส เป็นโรคนี้มากกว่าคนทั่วไป

2.1.2. 2. ปัจจัยสิ่งแวดล้อม

2.1.2.1. ผู้ป่วยโรคหอบหืดอาจจะมีสิ่งกระตุ้นจากปัจจัยต่าง อาทิ

2.1.2.1.1. - การติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ เช่น เป็นไข้หวัด ไซนัสอักเสบ

2.1.2.1.2. - สัมผัสอากาศเย็น

2.1.2.1.3. - การสัมผัสกับสารก่อภูมิแพ้ที่กระตุ้นให้เกิดอาการทางระบบทางเดินหายใจ เช่น ละอองเกสรดอกไม้ เกสรหญ้า ไรฝุ่น ขนสัตว์ หรือมลพิษทางอากาศ

2.2. ยาที่ใช้รักษาโรคหอบหืด

2.2.1. ทั้งชนิดสูดพ่นและยารับประทานซึ่งแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ

2.2.1.1. 1. กลุ่มยาควบคุมหรือระงับการอักเสบของหลอดลม เช่น ยากลุ่มคอร์ตีโคส เตียรอยด์ชนิดสูดพ่น

2.2.1.2. 2. กลุ่มยาบรรเทาอาการ ได้แก่ ยาขยายหลอดลม ซึ่งมีฤทธิ์ทำให้กล้ามเนื้อหลอดลม คลายตัวและขยายตัวจึงช่วยลดอาการไอ เหนื่อหอบ หายใจไม่สะดวก

2.3. การตรวจสมรรถภาพปอดด้วยวิธี Peak Expiratory Flow (PEF)

2.3.1. 1. ผู้เป่าควรอยู่ในท่ายืนหรือนั่งลง ศีรษะตรงเพื่อให้ทางเดินหายใจตรงและปอดขยายได้เต็มที่

2.3.2. 2. ถือ Peak Flow Meter ในมือข้างที่ถนัด ให้เครื่อง Peak Flow Meter อยู่แนวขนาดพื้น เลื่อนลูกศรไปอยู่ที่ 0

2.3.3. 3. หายใจเข้าให้เต็มปอดแล้วอ้าปากอมช่องให้สนิท แล้วเป่าลมหายใจออกด้วยความเร็วและ แรง

2.3.4. 4. อ่านค่าที่เป่าได้

2.3.5. 5. ทำซ้ำตามชั้นตอนเดิม 3 ครั้ง และจะเอาผลลัพธ์ทั้ง 3 ครั้งเพื่อส่งให้นายแพทย์วินิจฉัย

3. สาเหตุ

3.1. การเผาขยะในที่โล่ง

3.1.1. ปล่อย PM 2.5 ประมาณ 209,937 ตัน/ปี

3.2. โรงงานอุตสาหกรรม

3.2.1. ปล่อย PM 2.5 ประมาณ 65,140 ตัน/ปี

3.3. การคมนาคมขนส่ง

3.3.1. ปล่อย PM 2.5 ประมาณ 50,240 ตัน/ปี

3.4. การผลิตไฟฟ้า

3.4.1. ปล่อย PM 2.5 ประมาณ 31,793 ตัน/ปี

4. โรคต่าง ๆ ที่มาจากจาก PM 2.5

4.1. โรคหอบหืด

4.2. โรคภูมิแพ้

4.3. โรคหลอดลมอักเสบ

4.4. โรคผิวหนัง

4.5. โรคหัวใจขาดเลือด

4.6. โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ

4.7. โรคหลอดเลือดสมอง

4.8. เสี่ยงเป็นอัมพาต

4.9. เสี่ยงเป็นมะเร็ง

5. วิธีการป้องกันเพื่อหลีกเลี่ยงจาก PM 2.5

5.1. 1. หลีกเลี่ยงการอยู่ในสถานทีทีมีหมอกควันหรือฝุ่นละอองเยอะๆ

5.2. 2. ถ้าจำเป็นอยู่ในสถานที่ทีมีหมอกควันหรือฝุ่นละอองเยอะๆ ควรใช้ Mask ชนิดกรอง 3 ชั้นปิดปาก และจมูก

5.3. 3. ควรเปลี่ยนหน้ากากอนามัยทุกวัน และถ้าเป็นไปได้ควรใช้แบบครั้งเดียวทิ้งเพื่อสุขลักษณะที่ดี

5.4. 4. สำหรับบริเวณพื้นที่ว่างเปล่า ควรปลูกพืชคลุมหน้าดินเพื่อลดโอกาสที่ฝุ่นละอองจะลอยฟุ้งขึ้นมาในอากาศ

5.5. 5. สำหรับผู้ทีมีโรคประจำตัวเรื้อรัง ควรพกยาติดตัวเพื่อป้องกันและใช้ยาเมื่ออาการกำเริบ

6. วิธีการรณรงค์เพื่อลดฝุ่น PM 2.5

6.1. 1. ลดการใช้รถยนต์ส่วนบุคคล

6.2. 2. ดับเครื่องรถยนต์ขณะจอด

6.3. 3. ตรวจสอบสภาพรถ

6.4. 4. เจอรถที่มีควันดำให้รีบแจ้ง

6.5. 5. หยุดการเผาขยะในที่โล่ง

6.6. 6. งดสูบบุหรี่

6.7. 7. หลีกเลี่ยงการจุดธูป

6.8. 8. เลี่ยงการทำอาหารดัวยเตาถ่าน

6.9. 9. ปลูกต้นไม้