บทที่4 กระบวนการวางแผนโครงการพัฒนาการเกษตร

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
บทที่4 กระบวนการวางแผนโครงการพัฒนาการเกษตร by Mind Map: บทที่4 กระบวนการวางแผนโครงการพัฒนาการเกษตร

1. การมีส่วนร่วมในการวางแผนโครงการพัฒนาการเกษตร "การยึดเกษตรกรเป็นศูนย์กลาง"

1.1. เกษตรกร

1.1.1. ช่วยสร้างสมดุลในการใช้ปัจจัยของโครงการลดการวางแผนจากบนสู่ล่างทำให้เกษตรกรรู้สึกเป็นเจ้าของ

1.2. กลุ่มเกษตรกรในท้องถิ่น

1.2.1. ตัวแทนของกลุ่มเกษตรกรเสนอปัญหาหรือความต้องการ และความสนใจแก่เจ้าหน้าที่ส่งเสริมหรือหน่วยงาน

1.3. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร

1.3.1. เป็นตัวกลางเชื่อมระหว่างเกษตรกรกับฝ่ายบริหารที่วางแผนในเรื่องต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม

2. การเตรียมโครงการพัฒนาการเกษตร

2.1. การเตรียมโครงการแบบดั้งเดิมหรือแบบประเพณีนิยม (Conventional method)

2.1.1. 1.ชื่อโครงการ

2.1.2. 2.หน่วยงานรับผิดชอบ

2.1.3. 3.ลักษณะโครงการ

2.1.4. 4.หลักการและเหตุผล

2.1.5. 5.วัตถุประสงค์

2.1.6. 6.เป้าหมายของโครงการ

2.1.7. 7.ทรัพยากรที่ต้องการ

2.1.8. 8.วิธีการดำเนินงานหรือแผนการดำเนินงาน

2.1.9. 9.ผลที่คาดว่าจะได้รับ

2.1.10. 10.การประเมินผล

2.2. การเตรียมโครงการแบบเหตุผลสัมพันธ์ (Logical framework method)

2.2.1. 1.องค์ประกอบแนวตั้ง (Vertical) 1.ระดับนโยบาย ได้แก่ จุดมุ่งหมายของแผนงาน Goal (G) 2.ระดับวัตถุประสงค์ ได้แก่ วัตถุประสงค์ของโครงการ Purpose (P) 3.ระดับผลงาน ได้แก่ ผลผลิตของโครงการ Outputs (O) 4.ระดับปัจจัย ได้แก่ กิจกรรม Inputs (I)

2.2.2. 2.องค์ประกอบตามแนวนอน (Horizontal) 1.คำสรุป (Narrative Summary : NS) เป็นคำอธิบายโดยสรุปขององค์ประกอบตามความสัมพันธ์แนวดิ่ง (เป้าหมาย วัตถุประสงค์โครงการ ผลผลิต กิจกรรม และทรัพยากร) ซึ่งเป็นสิ่งที่โครงการจะเข้าไปแก้ไขปัญหาหรือไปแทรกแซง จึงมักเรียกว่า Logical Intervention 2.ตัวชี้วัด (Objectively Verifiable Indicators : OVI) เป็นดัชนีชี้วัดความสำเร็จในการดำเนินงาน เพื่อให้บอกได้ว่าแต่ละขั้นตอนประสบความสำเร็จหรือไม่อย่างไร 3.แหล่งข้อมูลหรือวิธีพิสูจน์ (Sources of Verification : SOV / Means of Verification : MOV) เป็นรายละเอียดเกี่ยวกับที่มาของข้อมูลในตัวชี้วัด เช่น จากแหล่งข้อมูลทุติยภูมิต่างๆ หรือ ต้องลงไปเก็บข้อมูลเชิงปฐมภูมิเอง 4.เงื่อนไขความสำเร็จ (Important Assumptions : IA) หมายถึงปัจจัยภายนอกที่ไม่อยู่ในการควบคุมของโครงการ แต่มีผลต่อความสำเร็จของโครงการ

2.2.3. ข้อดี 1.เป็นเขียนโครงการตามตรรกะวิธี ทำให้โครงการมีไว้ในที่เดียวกันอย่างชัดเจน 2.เป็นเครื่องมือที่บังคับให้ผู้จัดทำแผน/โครงการ คิดวางแผนโครงการให้ละเอียดถี่ถ้วน 3.อำนวยความสะดวกให้แก่ผู้วิเคราะห์โครงการ หรือผู้พิจารณาโครงการ เพราะสิ่งที่ต้องพิจารณาปรากฏอยู่ใน Log-Frame หมดแล้ว 5.ผู้ประเมินผลโครงการสามารถพิจารณาประเมินผลจาก Log-Frame ได้ โดยดูจากตัวบ่งชี้ ข้อบกพร่อง 1.การจัดทำโครงการแบบ Log-Frame จะต้องจัดเตรียมข้อมูลและรายละเอียดต่างๆให้ครบถ้วนชัดเจน 2.การเขียนรายละเอียดโครงการลงในแต่ละช่องของ Log-Frame จะต้องระมัดระวังให้มีความรัดกุม ชัดเจนและสอดคล้องเป็นเหตุเป็นผลซึ่งกันและกัน 3.การจัดทำโครงการระบบ Log-Frame มีประโยชน์มากในการเขียนโครงการที่มีวัตถุประสงค์ประการเดียว (Single Objective)

3. วงจรการวางแผนโครงการพัฒนาการเกษตร

3.1. 1.การวางแผน

3.2. 2.การดำเนินงานตามแผน

3.3. 3.การประเมินผล

4. กระบวนการวางแผนโครงการพัฒนาการเกษตร

4.1. 1.การวิเคราะห์สถานการณื

4.1.1. การวิเคราะห์ตัวโครงการ

4.1.2. การวิเคราะห์ครอบครัวเกษตรกรและการบริการที่จะเป็นประโยชน์ต่อเกษตรกร

4.1.3. การวิเคราะห์ความร่วมมือขององค์กรต่างๆ

4.1.4. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม

4.1.5. การวิเคราะห์ปัญหา

4.2. 2.การกำหนดวัตถุประสงค์ "SMART"

4.2.1. S = Sensible เป็นไปได้

4.2.2. M = Measurable สามารถวัดได้

4.2.3. A = Attainable ระบุสิ่งที่ต้องการ

4.2.4. R = Reasonable เป็นเหตุเป็นผล

4.2.5. T = Time เวลา

4.3. 3.การกำหนดกลยุทธ์

4.3.1. 1.การใช้กลยุทธ์การวางแผนโครงการโดยการมีส่วนร่วม

4.3.2. 2.การใช้เครือข่ายเชื่อมโยงกับหน่วยงานหรือสถาบัน

4.3.3. 3.การใช้ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล

4.3.4. 4.การใช้ระบบส่งเสริม โดยใช้วิธีส่งเสริมร่วมกับสื่อในการส่งเสริม

4.3.5. 5.การใช้กิจกรรมสนับสนุนหลายๆอย่าง

4.3.6. 6.การทำงานเป็นกลุ่ม

4.3.7. 7.การส่งเสริมแบบผสมผสานโดยยึดชุมชนเป็นศูนย์กลาง (Community - based integrated extens

4.4. 4.การวางแผนกิจกรรม

4.5. 5.การประเมินการวางแผน