ฮอร์โมนและการเคลื่อนไหวของพืช

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ฮอร์โมนและการเคลื่อนไหวของพืช by Mind Map: ฮอร์โมนและการเคลื่อนไหวของพืช

1. การเคลื่อนไหวเนื่องจากแรงดันเต่ง

1.1. Sleeping Movement

1.1.1. กลางคืน แรงดันเต่งลดลง

1.1.2. กลางวันใบกางออกเหมือนเดิม

1.2. Contaet Movement

1.2.1. กระเทือน แรงดันเต่งภายในลด ใบหุบ

1.2.2. การหุบของใบไมยรราพ

1.3. Guard Cell Movement

1.3.1. ปากใบปิด

1.3.1.1. เซลล์คุมเหี่ยว

1.3.1.2. พืชสร้างABA

1.3.1.3. ไม่มีแสงกระตุ้นตัวรับสัญญาณ

1.3.2. ปากใบเปิด

1.3.2.1. เซลล์คุมเต่ง

1.3.2.2. มีแสงกระตุ้นตัวรับสัญญาณ

2. จิบเบอเรลลิน

2.1. กระตุ้นการแบ่งphloem

2.2. กระตุ้นให้พืชยาวเป็นปกติ

2.3. กระตุ้นการเติบโตของผล

2.4. กระตุ้นการงอกของเมล็ด

3. ไซโตไคนิน

3.1. กระตุ้นการเปลียนแปลงของเซลล์

3.2. กระตุ้นการเกิดยอกอ่อนของพืช

3.3. กระตุ้นการเจริญเติบโตของตาข้าง

3.4. ชะลอการแก่ของใบ และผล

4. ฮอร์โมน

5. การเคลื่อนไหวของพืช

6. การเคลื่อนไหวเนื่องจากการเจริญเติบโต

6.1. tropic movement

6.1.1. chomotropism

6.1.1.1. ยอดเกสรตัวเมียบีบน้ำตาล

6.1.2. thigmotropism

6.1.2.1. มีมือเกาะกับพืชต้นอื่น

6.1.3. phototropism

6.1.3.1. ปลายยอดเบนหาแสง รากเบนหนีแสง

6.1.4. graritropism

6.1.4.1. รากงอกหาส่วนที่มีน้ำและความชื้น

6.2. เนื่องจากสิ่งเร้าภายนอก

6.2.1. nastic movement

6.2.1.1. การหุบ-บาน ตามแสง

6.2.1.2. การหุบ-บาน ตามอุณหภูมิ

6.3. เนื่องจากสิ่งเร้าภายใน

6.3.1. nutation

6.3.1.1. ยอดแกว่งไป-มา

6.3.2. spiral movement

6.3.2.1. ยอดหมุนซ้าย-ขวา

6.3.3. twinning movement

6.3.3.1. ต้นบิดเกลียว

6.3.3.2. หันหนีได้

7. กรดแอบไซติค

7.1. กระตุ้นการปัดของปากใบ

7.2. กระตุ้นการร่วงของใบ

7.3. มีการพักตัวของตาและเมล็ด

8. เอทิลีน

8.1. กระตุ้นการร่วงของใบ

8.2. กระตุ้นการสุกของผลไม้

8.3. กระตุ้นการออกดอกของสับปะรด

8.4. กระตุ้นการไหลของน้ำยางพารา

8.5. ยับยั้งการเจริญเติบโตของกิ่งและใบ

9. ออกซิน

9.1. กระตุ้นให้เซลล์ยืดตัว

9.2. กระตุ้นให้เกิดราก

9.3. กระตุ้นการแบ่งเซลล์xylem

9.4. กระตุ้นให้เกิดเซลล์cambium

9.5. ปลายยอดเบนเข้าหาเเสง

9.6. กระตุ้นการออกผล

9.7. นำไปปราบวัชพืช