ความเป็นพลเมือง

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ความเป็นพลเมือง by Mind Map: ความเป็นพลเมือง

1. ความหมายทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส่วนร่วม

1.1. กระบวนการให้บุคคลมามีส่วนร่วม

1.1.1. ร่วมคิด ตัดสินใจ

1.1.2. ลงมือแก้ไขปัญหา

2. แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการมีส่วนร่วม

2.1. ทฤษฎีการเกลี้ยกล่อมมวลชน (Mass Persuation)

2.1.1. ใช้หลักความต้องการของ Maslow (ความต้องการมี 5 ระดับ กาย,ความปลอดภัย,สังคม,ชื่อเสียง,ความสำเร็จ)

2.2. ทฤษฎีการระดมสร้างขวัญของคนในชาติ (National Morale)

2.2.1. ขวัญเป็นสถานการณ์ทาง จิตใจที่แสดงออกในรูปพฤติกรรมต่าง ๆ

2.3. ทฤษฎีสร้างความรู้สึกชาตินิยม (Nationalism)

2.3.1. เป็นความรู้สึกที่จะอุทิศตนเองเพื่อชาติ

2.4. ทฤษฎีการสร้างผู้นำ (Leadership)

2.4.1. เน้นการสร้างผู้นำที่ดี

2.5. ทฤษฎีการใช้วิธีและระบบทางการบริหาร (Administration and Method)

2.5.1. เป็นการให้ปฏิบัติตามนโยบายเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย

3. แนวคิดเรื่องการมีส่วนร่วม

3.1. ความหมายของการมีส่วนร่วมอาจแตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ หรือแม้แต่ในประเทศเดียวกันก็ตาม ดังนั้น การนิยามความหมายของการมีส่วนร่วมของประชาชน ควรมีลักษณะจำกัดเฉพาะในระบบเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองหนึ่ง ๆ เท่านั้น

4. ขั้นตอนการมีส่วนร่วม

4.1. ค้นหาปัญหาและสาเหตุ

4.2. วางแผนดำเนินงาน

4.3. ลงมือปฏิบัติ

4.4. ติดตามและประเมินผล รวมถึงรับประโยชน์ร่วมกัน

5. ระดับของการมีส่วนร่วม

5.1. ร่วมให้ข้อมูล

5.2. ร่วมรับข้อมูลข่าวสาร

5.3. ร่วมตัดสินใจ

5.4. ร่วมปฏิบัติ

5.5. ร่วมสนับสนุนในด้านอื่นๆ

6. การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน

6.1. สร้างความสัมพันธ์ที่ดี และลดความขัดแย้ง

6.2. สร้างค่านิยมร่วมแรงร่วมใจ

6.3. ให้การศึกษาอบรมอย่างต่อเนื่อง

6.4. ทำงานเป็นทีม

6.5. สร้างพลังชุมชน

7. กรรมวิธีในการมีส่วนร่วมของประชาชน

7.1. ร่วมประชุมอภิปราย

7.2. ร่วมรับข้อมูลข่าวสาร

7.3. ร่วมตัดสินใจ

7.4. ร่วมปฏิบัติ

7.5. ร่วมปฏิบัติ

8. กระบวนการมีส่วนร่วม

8.1. ด้านการวางแผน

8.2. การปฏิบัติ

8.3. การจัดสรรผลประโยชน์

8.4. ติดตามและประเมินผล

9. การบริหารความขัดแย้ง (Conflict Management)

9.1. ความหมายของความขัดแย้ง

9.1.1. เป็นสภาพการณ์หรือสถานการณ์ที่เป็นความแตกต่างที่บุคคล 2 คน หรือ มากกว่า แสดงพฤติกรรมเปิดเผยออกมาอย่างแตกต่างกัน สภาพการณ์เหล่านี้คือ ความขัดแย้ง ซึ่ง อาจเกิดจากมีการรับรู้ในเป้าหมายที่แตกต่างกัน มีความเข้าใจผิดหรือไม่เข้าใจวัตถุประสงค์

9.2. ธรรมชาติของความขัดแย้ง

9.2.1. นุษย์เรานั้น มีความแตกต่างหลากหลาย ไม่มีใครในโลกที่เหมือนกันหมด ไม่ว่าจะเป็นรูปร่างหน้าตา ดังนั้นความต้องการ และความคิดเห็นก็มีความแตกต่างเช่นเดียวกัน

9.3. สาเหตุที่ทำให้มนุษย์ขัดแย้งกัน

9.3.1. ความขัดแย้งในเรื่องผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ

9.3.2. ความขัดแย้งในแง่ของสถานะทางสังคม

9.3.3. ความขัดแย้งในเรื่องของอำนาจ

9.4. กระบวนการความขัดแย้ง (มีทั้งหมด 5 กระบวนการ)

9.4.1. ก่อตัวของการต่อต้าน หรือความไม่ลงรอยที่รุนแรงพอ

9.4.2. ฝ่ายที่เกี่ยวข้องรับรู้ถึงความขัดแย้ง

9.4.3. ตั้งใจทำอย่างใดอย่างหนึ่ง

9.4.4. พฤติกรรมที่แสดงออกมา

9.4.5. ผลกระทบที่เกิดขึ้น

9.5. ประเภทของความขัดแย้ง

9.5.1. ความขัดแย้งภายใตัวบคคล

9.5.2. ความขัดแย้งในระหว่างบุคคล

9.5.3. ความขัดแย้งภายในกลุ่ม

9.5.4. ความขัดแย้งะหว่างกลุ่ม

9.5.5. ความขัดแย้งภายในองค์กร

9.5.6. ความขัดแย้งระหว่างองค์กร

9.6. ผลบวกของความขัดแย้ง

9.6.1. นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงในเชิงสร้างสรรค์ เกิดรูปแบบการทำงานใหม่ๆมีผลงานใหม่ๆ

9.6.2. ก่อให้เกิดความสามัคคีในกลุ่ม

9.6.3. ทำให้เกิดแนวทางแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เป็น ประโยชน์กับองค์กร หรือทำให้เกิดคุณภาพ ในการตัดสินใจ

9.7. ผลลบของความขัดแย้ง

9.7.1. นำไปสู่ความตึงเครียด

9.7.2. ทำให้เกิดการสูญเสียทรัพยากรและเวลามากขึ้น

9.7.3. นำไปสู่ความยุ่งเหยิง และไร้ซึ่งเสถียรภาพขององค์กร

9.8. หลักการสำคัญเกี่ยวกับการบริหารความขัดแย้ง

9.8.1. แบ่งแยกแล้วปกครอง

9.8.1.1. การแบ่งแยกเพื่อสร้างความขัดแย้งในปริมาณที่เล็กน้อย ให้เป็นพลังขับดันในสิ่งที่ดีกว่า

9.8.2. ปกครองแบบทำให้สมาชิกในทีมเกิดความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน

10. สันติวิธี

10.1. ความหมายของสันติวิธี

10.1.1. วิธีการแก้ไขปัญหาในสังคมการเมืองที่ต้องมีการขับเคลื่อนให้เกิดการปฏิบัติ มิใช่การยอมจำนนต่อปัญหาหรือการนิ่งเฉย โดยให้ความสำคัญกับการอยู่ร่วมกันฉันท์มิตร

10.2. รูปแบบของสันติวิธี

10.2.1. สันติวิธีแบบชั้นเดียว

10.2.1.1. การเคลื่อนไหวโดยไม่ใช้“ความรุนแรง” แต่มุ่งให้ได้ “ชัยชนะ” ของฝ่ายตน

10.2.2. สันติวิธีแบบสองชั้น

10.2.2.1. วิธีการอันเป็นสันติ รวมถึงการพูดจาต่อรอง เพื่อให้ได้ “ข้อตกลงร่วมกัน”