มะเร็ง

Plan your projects and define important tasks and actions

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
มะเร็ง by Mind Map: มะเร็ง

1. ปัจจัยการเกิด

1.1. Intrinsic factors

1.1.1. 1.พันธุกรรม (Heredity)

1.1.2. 2.อายุ

1.1.3. 3.เพศและฮอร์โมน

1.1.4. 4.Immunologic factors

1.2. Extrinsic factors

1.2.1. 1.ทางฟิสิกส์ (Physical factors)

1.2.2. 2. สารเคมี (Chemical agents)

1.2.2.1. 1.สาร carcinogenic hydrocarbons

1.2.2.2. 2.สาร aromatic amines

1.2.2.3. 3.สารก่อมะเร็งที่พบปนเปื้อนในพืชอาหารสัตว์ เช่น aflatoxins

1.2.3. 3.สิ่งมีชีวิตที่ก่อให้เกิดมะเร็ง

1.2.3.1. 1.metazoa parasites

1.2.3.2. 2.viruses

2. มะเร็งเต้านม

2.1. มะเร็งเต้านมเกิดจากเซลล์ “เยื่อบุท่อน้ำนมส่วนปลาย” (Terminal Duct Lobular Unit)มีการแบ่งตัวเพิ่มจำนวนแบบผิดปกติขึ้นจนโตเป็นก้อนและมีการลุกลามแพร่กระจายไปสู่อวัยวะต่างๆทั่วร่างกาย

2.2. ระยะ

2.2.1. มะเร็งเต้านมระยะที่ 1 : มะเร็งมีการลุกลามออกมานอกเนื้อเยื่อฐานราก แต่ยังไม่มีการแพร่กระจายไปสู่ต่อมน้ำเหลืองที่รักแร้ และขนาดก้อนมะเร็งไม่เกิน 2 ซม. โอกาสอยู่รอดที่ 5 ปี ประมาณ 98%

2.2.2. มะเร็งเต้านมระยะที่ 0 หรือ DCIS ( Ductal Carcinoma In Situ) : เซลล์มะเร็งเพิ่งก่อตัวขึ้นจำกัดอยู่ภายในเนื้อเยื่อฐานรากยังไม่แบ่งตัวลุกลามสู่ภายนอกขอบเขต โอกาสอยู่รอดที่ 5 ปี ประมาณ 99%

2.2.3. มะเร็งเต้านมระยะที่ 2 : ก้อนมะเร็งขนาดเกิน 2 ซม.แต่ไม่เกิน 5 ซม.ที่ยังไม่มีการแพร่กระจายไปสู่ต่อมน้ำเหลืองที่รักแร้ หรือมะเร็งขนาดเล็กไม่เกิน 2 ซม. แต่มีการแพร่กระจายไปสู่ต่อมน้ำเหลืองที่รักแร้แล้ว ถ้ามะเร็งยังไม่เข้าต่อมน้ำเหลือง โอกาสอยู่รอดที่ 5 ปี ประมาณ 98%

2.2.4. มะเร็งเต้านมระยะที่ 3 : ก้อนมะเร็งขนาดใหญ่เกิน 5 ซม. หรือมะเร็งมีการแพร่กระจายเข้าสู่ต่อมน้ำเหลืองรักแร้จำนวนหลายต่อมทั่วไปหมด โอกาสอยู่รอดที่ 5 ปี ประมาณ 84 %

2.2.4.1. left breast carcinoma stage III

2.2.4.1.1. การรักษา

2.2.4.1.2. Metastatic breast cancer with lymphatic obstruction with Febrile Neutropenia

2.2.5. มะเร็งเต้านมระยะที่ 4 : เป็นระยะสุดท้ายคือมะเร็งมีการแพร่กระจายไปยังอวัยวะอื่นๆ เช่น ปอด กระดูก ตับ สมอง เป็นต้น โอกาสอยู่รอดที่ 5 ปี ประมาณ 24 %

3. ทฤษฏีมะเร็ง

3.1. เป็นกลุ่มของโรคที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของเซลล์ที่ผิดปกติ คือ เซลล์จะแบ่งตัวและเจริญอย่างควบคุมไม่ได้ ก่อเป็นเนื้องอกร้าย และมีศักยภาพในการรุกรานร่างกายส่วนข้างเคียง มะเร็งอาจแพร่กระจายไปยังร่างกายส่วนที่อยู่ห่างไกลได้ผ่านระบบน้ำเหลืองหรือกระแสเลือด แต่ไม่ใช่เนื้องอกทุกชนิดจะเป็นมะเร็ง

4. ความผิดปกติเกี่ยวกับการเจริญเติบโตของเซลล์

4.1. 1.Hypertrophy หมายถึง การที่อวัยวะหรือเนื้อเยื่อใหญ่ขึ้น เพราะ เชลล์ที่เป็นส่วนประกอบมีขนาดใหญ่ขึ้น

4.2. 2.Hyperplasia หมายถึง การที่อวัยวะหรือเนื้อเยื่อใหญ่ขึ้น เพราะ มีจำนวนเชลล์ที่เป็นส่วนประกอบมีจำนวนมากขึ้น

4.3. 3.Aplasia หรือ Agenesis หมายถึง การผิดปกติเกี่ยวกับ การเจริญเติบโตหรือไม่มีการพัฒนาขึ้นมาของเนื้อเยื่อหรืออวัยวะ อย่างใดอย่างหนึ่ง

4.4. 4.Hypoplasia หมายถึง การที่อวัยวะหนึ่งไม่เจริญเติบโตขึ้นมา ได้ขนาดปกติในระยะเวลาอันควร

4.5. 5.Atrophy หมายถึง การที่อวัยวะหนึ่งอวัยวะใดหลังเกิดมาแล้ว มีขนาดปกติ แต่ภายหลังมีขนาดเล็กลงไปกว่าปกติ

4.6. 6.Metaplasia หมายถึง การเปลี่ยนแปลงรูปร่างของเซลล์ชนิด หนึ่งไปเป็นเซลล์อีกชนิดหนึ่ง มักเป็นการเปลี่ยนแปลงจากเซลล์ที่เคย เป็น เช่น จาก columnar หรือ transitional type เปลี่ยนไปเป็น(metaplasia) squamous cell type

4.7. 7. Dysplasia Dysplasia หมายถึง การเปลี่ยนแปลงทั้งขนาด รูปร่าง และ orientation ของ epithelial cell สาเหตุมักเกิดจาก chronic irritation or inflammation เช่น dysplasia ของ cervix epithelium ซึ่งต่อไปอาจ กลายเป็นมะเร็ง (cancer cells) ได้

5. การรักษา

5.1. 1.การรักษาโดยการผ่าตัด

5.1.1. การตัดเต้านมออกทั้งเต้า (Total or Simple mastectomy)

5.1.2. การตัดเต้านมออกเพียงบางส่วน (Partial mastectomy or Breast-conserving surgery)

5.2. 2.การรักษาโดยการฉายแสง(รังสีรักษา)

5.3. 3.การรักษาโดยยาต้านฮอร์โมน

5.4. 4.การรักษาโดยยาเคมีบำบัด

5.5. 5.การรักษาโดยยาที่มีการออกฤทธิ์จำเพาะ