ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยที่มีภาวะเลือดออก ในทางเดินอาหารส่วนต้นซ้ำ* Fac...

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยที่มีภาวะเลือดออก ในทางเดินอาหารส่วนต้นซ้ำ* Factors related to Health Behaviors among Upper Gastrointestinal Rebleeding Patients by Mind Map: ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยที่มีภาวะเลือดออก ในทางเดินอาหารส่วนต้นซ้ำ* Factors related to Health Behaviors among Upper Gastrointestinal Rebleeding Patients

1. การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติเพื่อ ป้องกันการเกิดโรคซ้ำ

2. การรับรู้อุปสรรคต่อการปฏิบัติเพื่อป้องกัน การเกิดโรคซ้ำ

3. การรับรู้ความรุนแรงของการเกิดโรคซ้ำ

4. สิ่งชักนำให้เกิดการปฏิบัต

5. พฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสมช่วยส่งเสริมให้เกิดภาวะเลือดออกในทางเดินอาหาร

5.1. พฤติกรรมการใช้ยา ส่วนใหญ่เป็นยารับประทาน ได้แก่ ยาแก้ปวดหรือยาต้านการอักเสบที่ไม ่ใช ่สเตียรอยด์ (NSAIDs)

5.2. พฤติกรรมการสูบบุหรี่

5.3. พฤติกรรมที่ก่อให้เกิดความเครียด

6. ข้อมูลส่วนบุคคลและข้อมูลความเจ็บป่วย

6.1. ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย

6.2. สถานภาพสมรสค

6.3. อาชีพเกษตรกรรม

6.4. ส่วนใหญ่มีโรคประจำตัว คือ โรคตับ

6.5. ดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ สูบบุหรี่

6.6. รับประทานยารักษาโรค ข้อ กระดูก และยาแผนโบราณ ยาลูกกลอน ยาสมุนไพร

7. พฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยที่มีภาวะเลือด ออกในทางเดินอาหารส่วนต้นซ้ำ

7.1. พฤติกรรมการใช้ยา ส่วนใหญ่เป็นยารับประทาน ได้แก่ ยาแก้ปวดหรือยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช ่สเตียรอยด์ (NSAIDs)

7.2. พฤติกรรมที่ก่อให้เกิดความเครียด

7.3. พฤติกรรมการบริโภค

7.4. พฤติกรรม การสูบบุหรี่

8. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ทางสถิติที่แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ทางสุขภาพของผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินเลือดออก ทางเดินอาหารส่วนหนึ่ง

8.1. การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเกิดโรคซ้ำ

8.2. พฤติกรรมสุขภาพ

9. ภาวะเลือดออกในทางเดินอาหารส่วนต้นซ้ำ เป็นภาวะที่พบบ่อยในระบบทางเดินอาหาร อีกทั้งยังเป็นภาวะฉุกเฉินที่สำคัญที่ผู้ป่วยต้องได้รับการช่วยเหลืออย่างทันท่วงทโดยปัจจัยการเกิดภาวะเลือดออกในทางเดินอาหารส่วนต้นซ้ำ มักจะเกิดจากพฤติกรรมสุขภาพพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสมซึ่งส่งเสริมให้เกิดภาวะเลือดออกในทางเดินอาหารส ่วนต้นซ้ำ ได้แก่ พฤติกรรมการบริโภคในที่นี้ประกอบไปด้วยการรับประทานอาหารและการดื่มเครื่องดื่มพฤติกรรมการใช้ยา ซึ่งส่วนใหญ่เป็นยารับประทาน ได้แก่ยาแก้ปวดหรือยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์พฤติกรรมการสูบบุหรี่และพฤติกรรมที่ก ่อให้เกิดความเครียดล้วนส ่งผลให้มีภาวะเลือดออกในทางเดินอาหาร

10. ด้านการรับรู้อุปสรรคต่อการปฏิบัติเพื่อ ป้องกันการเกิดโรคซ้ำ

11. การรับรู้ตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ ของผู้ป่วยที่มีภาวะเลือดออกในทางเดินอาหารส่วนต้นซ้ำ

11.1. ด้านการรับรู้ความรุนแรงของการเกิดโรคซ้ำ

11.2. ด้านการรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติเพื่อ ป้องกันการเกิดโรคซ้ำ

11.3. ด้านสิ่งชักนำให้เกิดการปฏิบัติ

11.4. ด้านการรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเกิดโรคซ้ำ