ยาฝังคุมกำเนิด Contraceptive implant

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ยาฝังคุมกำเนิด Contraceptive implant by Mind Map: ยาฝังคุมกำเนิด Contraceptive implant

1. การเริ่มต้นฝัง

1.1. ภายใน 1-5 วันแรกของการมีประจำเดือน

1.2. 4-6 สัปดาห์หลังคลอด

1.3. หลังแท้งบุตรทันที

2. วิธีการฝัง

2.1. จะฝังบริเวณ Subdermal โดยฉีดยาชาเฉพาะที่แล้วกรีดผิวหนังอกยาว 0.5 cm เพื่อเป็นช่องสำหรับใส่หลอดยา โดยหลอดยา 1 หลอดใช้เวลาทำ 5-10 นาที ฝังเสร็จแล้วไม่ต้องเย็บแผล แต่ปิดด้วยพลาสเตอร์

3. วิธีการเอายาฝังออก

3.1. จะทำเหมือนกับการฝังยาคุม โดยสามารถเอาออกได้เมื่อต้องการมีบุตร

4. ข้อห้าม

4.1. สตรีท่สงสัยว่าตั้งครรภ์

4.2. ผู้ที่มีภาวะลิ่มเลือดหลอดเลือด

4.3. มีเลือดออกทางช่องคลอดโดยไม่ทราบสาเหตุ

4.4. โรคตับ

4.5. ไมเกรน

4.6. มะเร็งเต้านม

4.7. โรคเบาหวาน

5. ข้อดี

5.1. ประสิทธิภาพสูง

5.2. ปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อนของ ertrogen

5.3. ยาออกฤทธิ์เลยก่อนที่จะผ่านตับ

6. ความหมายและการออกฤทธิ์

6.1. เป็นการคุมกำเนิดชั่วคราวที่มีประสิทธิภาพสูง โดยใช้หลอดยาฝังเข้าไปใต้ผิวหนังบริเวณใต้ท้องแขนท่อนบน

6.2. ภายในหลอดยาบรรจุฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน ส่งผลให้ยับยั้งกาตกไข่ และมูกท่ปากมดลูกเหนียวข้น ทำให้ตัวอสุจิเข้าไปในโพรงมดลูกไม่ได้ สามารถคุมกำเนิดได้ 3-5 ปี

7. การเลือกผู้รับบริการ

7.1. มีบุตรมีชีวิตอย่างน้อย 1 คน

7.2. ต้องการคุมกำเนิดระยะยาว

7.3. ต้องการเว้นระยะการมีบุตรโดยที่มีการกลับคืนสู่ภาวะเจริญพันธุ์ได้ทันที

7.4. ในสตรีที่มีข้อห้ามต่อการใช้ ertrogen

8. อาการข้างเคียง

8.1. การเปลี่ยนแปลงของประจำเดือน จะมากะปริดกะปรอย หรือไม่มาเลย

8.2. ปวดศีรษะ

8.3. น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น

8.4. เกิดสิวและฝ้า

9. การปฏิบัติตัว

9.1. หลังจากฝังยาไปแล้วใน 7 วัน ไม่ควรให้แผลถูกน้ำ ควรซือพลาสเตอร์กันน้ำมาใช้แทนได้

9.2. อาจมีอาการปวดได้ สามารถทานยาแก้ปวดได้

9.3. หลีกเลี่ยงการใช้แรงที่มากหรือยกของหนัก

9.4. ให้คลำบริเวณที่ฝังยาทุกวัน เนื่องจากไม่ได้เย็บแผล หลอดยาสามารถเคลื่อนที่ได้

9.5. หลังจาก 1 สัปดาห์แพทย์จะนัดดมาตรวจอีกรอบ