การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาในระบบปัสสาวะ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาในระบบปัสสาวะ by Mind Map: การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาในระบบปัสสาวะ

1. Acute​ Glomerulonephritis

1.1. ความหมาย

1.1.1. ทอนซิลอักเสบ

1.1.2. การอักเสบของไตและกรวยไตทั้ง สองข้างเนื่องจากการติดเชื้อแบคทีเรียเฉียบพลัน

1.2. สาเหตุ

1.2.1. ติดเชื้อแบคทีเรีย

1.2.1.1. แผลพุพอง

1.2.1.2. ผิวหนังอักเสบ

1.2.2. พบบ่อยในเด็ก 5-10 ปี

1.2.3. เกิดร่วมกับโรคอื่น

1.2.3.1. SLD

1.2.3.2. ซิฟิลิส

1.2.3.3. การแพ้สารเคมี

1.3. อาการ

1.3.1. ปวดบริเวณเอว

1.3.2. กดเจ็บบริเวณ Costovertebral

1.3.3. ปวดศีรษะ

1.3.4. มีปัญหาด้านการมองเห็น

1.3.5. อ่อนเพลีย เมื่อยล้า เบื่ออาหาร

1.3.6. มีความดันโลหิตสูง

1.3.7. ปัสสาวะน้อย มีเลือดปนในปัสสาวะ

1.3.8. ตาและหน้าบวม

1.3.9. มีโปรตีนในปัสสาวะ

1.4. การวินิจฉัย

1.4.1. ซักประวัติ

1.4.1.1. อาการบวม

1.4.1.2. สีของปัสสาวะ

1.4.1.3. การติดเชื้อ

1.4.1.3.1. ที่คอ

1.4.1.3.2. ความดันโลหิต

1.4.1.3.3. ที่ผิวหนัง

1.4.2. ตรวจร่างกาย

1.4.2.1. ไข้

1.4.3. ครวจปัสสาวะ

1.4.3.1. พบเม็ดเลือดแดง และเม็ดเลือดขาวมาก

1.4.3.2. BUN

1.4.3.3. พบโปรตีนในไข่ขาว

1.4.4. ตรวจเลือด

1.4.4.1. Cr

1.4.5. ให้ยาปฏิชีวนะ

1.4.5.1. ลดการติดเชื้อ

1.4.6. รังสี

1.4.6.1. X-ray

1.4.6.2. อัลตร้าซาวด์

1.5. การรักษา

1.5.1. ให้ยาขับปัสสาวะ

1.5.1.1. ลดบวม

1.5.2. ให้ยาลดความดัน

1.5.3. ให้ยาแก้ชัก

1.5.3.1. เมื่อมีอาการชัก

1.5.4. ทำการล้างไต

1.5.4.1. เมื่อความดันโลหิตสูง

1.5.4.2. ไตวายรุนแรง

1.6. การพยาบาล

1.6.1. ควบคุม ป้องกันการบวม

1.6.2. ป้องกันภาวะโปแตสเซียมสูง

1.6.3. ลดความดันโลหิต

1.6.4. สัเกตการเกิดภาวะแทรกซ้อน

1.6.5. ดูแลด้านจิตใจของผู้ป่วยและญาติ

1.6.6. การเตรียมตัวผู้ป่วยให้ดูแลตนเองได้เมื่อกลับบ้าน

2. Pyelonephritis

2.1. ปัสสาวะบ่อย

2.2. อาการ

2.2.1. มีไข้สูง

2.2.2. ปวดหลัง สีข้าง เอว

2.2.3. ไม่กลั้นปัสสาวะ

3. Phimosis in childreng

3.1. ความหมาย

3.2. อาการ

3.2.1. ปลายองคชาตและหนังหุ้มปลายองคชาตอักเสบ

3.2.2. หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศโปร่ง

3.2.2.1. ภาวะที่ไม่สามารถรูดหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ กลับมาทางด้านหลัง

3.2.3. มีไข้ หนาวสั่น

3.2.4. ปัสสาวะไม่ออก หรือปัสสาวะลำบาก

3.2.5. รูดหนังหุ้มปลายแล้วดันกลับไม่ได้

3.3. การรักษา

3.3.1. รักษาแบบประคับประคอง

3.3.1.1. ทาด้วยครีมสเตียรอยด์

3.3.1.2. พ่อแม่ช่วยรูดหนังหุ้มปลายลงแล้วรูดกลับ

3.3.2. ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ

3.3.2.1. การผ่าตัด

3.3.2.1.1. เตรียมตัวก่อนผ่าตัด

3.3.2.1.2. ทำแผลทุกวัน

3.3.2.1.3. หลังผ่าตัด

4. Nephrotic​ syndrom

4.1. ความหมาย

4.1.1. โรคติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ

4.2. สาเหตุ

4.2.1. กลุ่มอาการเนโฟติกหรือไตรั่ว

4.2.1.1. เกิดอาการบวมทั้งตัว

4.2.2. ติดเชื้อแบคทีเรียที่ลำคอ หรือผิวหนัง

4.2.2.1. อาการบวม

4.2.2.2. ปัสสาวะเป็นเลือดหรือสีล้างเนื้อ

4.2.3. เด็กอ้วน

4.2.3.1. โรคความดันโลหิตสูง

4.2.3.2. อาหาร

4.2.3.2.1. ฟาสต์ฟู้ด

4.2.3.2.2. รสหวานจัด

4.2.3.2.3. รสเค็มจัด

4.2.3.3. กิจกรรมของเด็ก

4.2.3.3.1. ไม่ได้วิ่งเล่นหรือเคลื่อนไหวร่างกาย

4.3. โรคเบาหวาน

4.4. อาการ

4.4.1. ปัสสาวะผิดปกติ

4.4.1.1. ปัสสาวะมีสีแดง/สีล้างเนื้อ

4.4.1.2. ความผิดปกติโครงสร้างของไต

4.4.1.3. ปัสสาวะบ่อย

4.4.1.4. ปัสสาวะแสบขัด

4.4.1.5. ปัสสาวะกะปริบกะปรอย

4.4.1.6. ปัสสาวะออกมากหรือน้อยผิดปกติ

4.4.2. ซีด

4.4.2.1. อ่อนเพลีย

4.4.3. ความดันโลหิตสูง

4.4.3.1. ปวดศีรษะ

4.4.3.2. ตวมัว

4.4.3.3. ชักหรือหมดสติ

4.5. ให้ยาลดความดันโลหิต

4.5.1. จำกัดน้ำดื่ม

4.5.2. หาโปรตีน

4.6. การตรวจวินิจฉัย

4.6.1. การตรวจปัสสาวะ

4.6.2. การตรวจเลือด

4.6.2.1. การตรวจเพาะเชื้อ ในรายที่สงสัยว่าติดเชื้อ

4.7. การรักษา

4.7.1. เพื่อลดอาการและภาวะแทรกซ้อน

4.7.1.1. ลดความดันโลหิต

4.7.1.1.1. นอนพักผ่อน

4.7.1.1.2. ลดการออกกำลังกาย

4.7.2. การรักษาเฉพาะโรค

4.7.2.1. ในรอบ 24 hr.

4.7.2.2. การติดเชื้อ

4.7.2.3. ให้ยาปฏิชีวนะ

4.7.2.3.1. ลดบวม

4.7.2.3.2. ชนิดฉีด

4.7.2.4. ให้ยาสเตียรอยด์

4.7.2.4.1. ชนิดรับประทาน

4.7.2.4.2. รับประทาน

4.7.2.5. การแตกของผิวหนัง

4.8. การพยาบาล

4.8.1. ลด

4.8.1.1. ป้องกันและควบคุม

4.8.1.1.1. อาการบวม

4.8.1.2. การสูญเสียพลังงาน

4.8.1.3. การทำงานของหัวใจ

4.8.1.4. อาการ Dyspnea

4.8.2. เสริมสร้าง

4.8.2.1. ภาวะโภชนาการและการเจริญเติบโต

4.8.2.2. พัฒนาการของร่างกาย

4.8.3. ประคับประคองด้านจิตใจ

4.8.3.1. ผู้ป่วย

4.8.3.2. ญาติ

4.8.4. การเตรียมตัวผู้ป่วยให้ดูแลตนเองได้เมื่อกลับบ้าน

5. ESRD

5.1. สาเหตุ

5.2. อ่อนเพลีย

5.3. คันตามตัว

5.4. อาการ

5.4.1. ตัวซีด

5.4.2. คลื่นไส้ อาเจียน

5.4.3. เบื่ออาหาร

5.4.4. เป็นตะคริว

5.4.5. ตามัว

5.4.6. บวม

5.5. การรักษา

5.5.1. การล้างไต

6. Urinary Tract Infection

6.1. จำแนกเป็น

6.1.1. ส่วนบน

6.1.2. ส่วนล่าง

6.1.2.1. ติดเชื้อที่ท่อไตหรือที่ไต

6.1.2.2. การติดเชื้อที่กระเพาะปัสสาวะ

6.1.2.3. การติดเชื้อที่ท่อปัสสาวะ

6.2. สาเหตุ

6.2.1. ดื่มน้ำน้อย

6.2.2. กลั้นปัสสาวะบ่อย

6.3. อาการ

6.3.1. ความรู้สึกเจ็บหรือแสบร้อนขณะปัสสาวะ

6.3.2. ไม่สามารถกลั้นปัสสาวะได้นาน

6.3.3. เจ็บท้องน้อย สีข้าง

6.3.4. ปัสสาวะมีกลิ่นแรง

6.3.5. ปัสสาวะมีเลือดปน

6.3.6. ปัสสาวะมีสีขุ่น

6.3.6.1. กิจวัตรการขับถ่ายเปลี่ยนจากเดิม

6.3.6.1.1. ปัสสาวะรดที่นอนหรือรดกางเกง