1. Nephrotic syndrome
1.1. สาเหตุ
1.1.1. ความผิดปกติที่ไต (primary renal cause) ซึ่งอาจเป็นมาแต่ก าเนิด หรือไม่ทราบสาเหตุ
1.1.2. เกิดร่วมกับโรคระบบอื่นๆ (secondary nephrotic syndrome)
1.2. พยาธิสรีรภาพ
1.2.1. กลุ่มอาการโรคไตเกิดจากการที่มีการเปลี่ยนแปลงที่ glomerular basement membrane (GBM)ทำให้มีการรั่วของโปรตีนเพิ่มขึ้น มีอัลบูมินออกมาในปัสสาวะ อาการบวม อัลบูมินในเลือดต่ำและไขมันในเลือดสูงเป็นอาการที่ตามมา ซึ่งการเปลี่ยนแปลงความสามารถในการซึมผ่านของโกลเมอรูลัส (glomerular permeability) เป็นผลของปฏิกิริยาทางอิมมูน
1.3. อาการและอาการแสดง
1.3.1. บวม
1.3.2. อาการท้องเสีย
1.3.3. การเจริญเติบโตช้า
1.3.4. ตัวเตี้ย
1.3.5. แขนขาลีบเล็ก
1.3.6. เบื่ออาหาร
1.4. การวินิจฉัย
1.4.1. ซักประวัติ
1.4.2. ตรวจร่างกาย
1.4.3. การตรวจปัสสาวะ
1.4.3.1. การตรวจหาโปรตีน
1.4.3.2. หาค่าอัตราส่วนของโปรตีนต่อครีอตินิน
1.4.4. การตรวจเลือด
1.4.4.1. ซีรั่มอัลบูมินต่ำกว่า 2.5 มก./ดล.
1.4.4.2. ซีรั่มโคลเลสเตอรอลสูงประมาณ 450- 1500 มก./ดล.
1.4.4.3. พบ fribrinogen และ factor V, VII VIII , X เพิ่มขึ้น
1.4.5. renal biopsy
1.5. ภาวะแทรกซ้อน
1.5.1. Hypovolemia
1.5.2. การติดเชื้อ
1.5.3. Thrombosis
1.5.4. ไตวายเฉียบพลัน
1.5.5. ไตวายเรื้อรัง
1.5.6. การเจริญเติบโตและภาวะพร่องฮอร์โมนอื่น
1.6. การรักษา
1.6.1. อาหาร
1.6.1.1. ด้โปรตีนที่มีคุณภาพดีร้อยละ 130-140 ของความต้องการปกติในแต่ละวันตามอายุ และได้แคลอรีตามอายุ
1.6.2. รักษาและป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่พบบ่อย
1.6.3. การให้ยาสตีรอยด์
1.6.4. การให้ยากดภูมิต้านทานชนิดอื่น
2. Phimosis
2.1. ภาวะที่ผิวหนังบริเวณปลายองคชาตหดตัวจนไม่สามารถดึงให้เปิดขึ้นได้ดังปกติ
2.2. ลักษณะ
2.2.1. หนังหุ้มปลายองคชาติตีบทางสรีรวิทยา (Physiologic Phimosis)
2.2.1.1. ภาวะหนังหุ้มปลายองคชาตตีบที่มักเกิดขึ้นตั้งแต่แรกเกิด ส่วนใหญ่จะหายได้เองเมื่อมีอายุ 5-7 ปี
2.2.2. หนังหุ้มปลายองคชาติตีบทางพยาธิวิทยา (Pathologic Phimosis)
2.2.2.1. เกิดจากการติดเชื้อ การอักเสบ หรือการเกิดรอยแผลเป็น มักพบในผู้ชายวัยทำงานและจำเป็นต้องได้รับการรักษาทันที
2.3. อาการ
2.3.1. อาการบวมแดงและรู้สึกเจ็บปวดที่
2.3.2. ปัสสาวะไม่ออกหรือปัสสาวะลำบาก
2.3.3. รู้สึกเจ็บปวดขณะปัสสาวะ
2.3.4. รู้สึกเจ็บปวดเมื่อองคชาตแข็งตัว
2.4. การรักษา
2.4.1. การรักษาแบบประคับประคอง
2.4.1.1. ยา Betametasone
2.4.2. การผ่าตัด
2.4.2.1. ข่อบ่งชี้
2.4.2.1.1. หนังหุัมปลายไม่เปิด มีพังผืด และปัสสาวะลำบาก
2.4.2.1.2. อวัยวะเพศอักเสบเป็นๆหายๆ
2.4.2.1.3. นิยมทำในบางศาสนา
2.4.2.2. ภาวะแทรกซ้อน
2.4.2.2.1. เลือดออกมาก
2.4.2.2.2. ติดเชื้อ
2.4.2.2.3. ท่อปัสสาวะตีบตัน
2.4.2.2.4. อวัยวะเพศฉีกขาด
2.4.2.3. การเตรียมตัวก่อนผ่าตัด
2.4.2.3.1. ไม่ต้องงดน้ำงดอาหาร ถ้าฉีดยาชา
2.4.2.3.2. งดยาต้านการแข็งตัวของเลือดอย่างน้อย 2 อาทิตย์
2.4.2.4. การดูแลหลังผ่าตัด
2.4.2.4.1. ทำแผลทุกวัน
2.4.2.4.2. สังเกตุภาวะแทรกซ้อน
2.4.2.4.3. ในวันแรกประคบเย็น 20 นาที ลดปวด ลดบวม
2.4.2.4.4. ทายาแก้ปวด
2.4.2.4.5. ถ้าปัสสาวะแล้วเปื้อน ให้เปลี่ยนผ้าก๊อช
3. Urinary Tract Infection
3.1. สาเหตุ
3.1.1. ติดเชื้อแบคทีเรีย
3.1.2. การกั้นปัสสาวะ
3.1.3. พบในเพศหญิงมากกว่าชาย
3.2. อาการและอาการแสดง
3.2.1. ปัสสาวะแสบขัด
3.2.2. ปัสสาวะลำบาก
3.2.3. ปัสสาวะบ่อย
3.2.4. กลั้นปัสสาวะไม่ได้
3.2.5. ร้องเวลาปัสสาวะ
3.2.6. อาการปวดหรือกดเจ็บที่บริเวณท้อง ท้องน้อย หลังหรือบั้นเอว
3.2.7. มีไข้สูง
3.3. ชนิด
3.3.1. กรวยไตอักเสบแบบเฉียบพลัน (acute pyelonephritis)
3.3.2. กรวยไตอักเสบแบบเรื้อรัง (chronic pyelonephritis)
3.3.3. กระเพาะปัสสาวะอักเสบ (cystitis)
3.3.4. ท่อปัสสาวะอักเสบ (urethritis)
3.4. การวินิจฉัย
3.4.1. การตรวจปัสสาวะ (urinalysis)
3.4.1.1. การตรวจ leukocyte esterase และ nitrite
3.4.1.2. การตรวจนับเม็ดเลือดขาว
3.4.1.3. การย้อมแกรมปัสสาวะ
3.4.2. การเพาะเชื้อในปัสสาวะ(gold standard)
3.4.2.1. Suprapubic aspiration
3.4.2.2. Urethral catheterization
3.4.2.3. Clean-catch, midstream void
3.4.3. ตรวจอัลตราซาวน์ระบบทางเดินปัสสาวะ ทั้งไต ท่อไตและกระเพาะปัสสาวะ
3.4.4. Voiding cystourethrogram
3.5. การดูแลรักษา
3.5.1. แก้ไขภาวะ dehydration โดยให้สารนํ้าทางปากหรือทางหลอดเลือดดํา
3.5.2. Antibiotics
3.5.2.1. ยาต้านจุลชีพก่อนทราบผลเพาะเชื้อ
3.5.2.2. เมื่อทราบผลเพาะเชื ้อแล้ว ควรปรับยาตามความไวของเชื ้อ โดยพิจารณาถึงผลข้างเคียงและ วิธีการบริหารยาร่วมด้วย
3.5.2.3. แนะนำให้ใช้ยาต้านจุลชีพชนิดฉีด (intravascular หรือ intramuscular) ในผู้ป่วยที่มีอาการหนัก ผู้ป่วยไข้สูง หรือรับประทานไม่ได้ รวมทั้งผู้ป่วยที่มีอายุต่ำกว่า 3 เดือน จนกว่าไข้ลงจึงเปลี่ยนเป็นยาชนิดรับประทาน
3.5.2.4. ควรได้รับยาต้านจุลชีพรวม 7-14 วันในผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะส่วนบน
3.5.2.5. ควรให้ยาต้านจุลชีพ 3-7 วัน ในผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง
3.6. การพยาบาล
3.6.1. ป้องกันและควบคุมเชื้อ
3.6.2. สังเกตุภาวะแทรกซ้อน
3.6.3. สอนและให้คำแนะนำด้านการ)ปฎิบัติตัว
3.7. ภาวะแทรกซ้อน
3.7.1. ไตเสื่อม
3.7.2. ความดันโลหิตสูง
3.7.3. นิ่ว
4. Acute glomerulonephritis
4.1. สาเหตุ
4.1.1. การอักเสบของไตไม่ได้มีสาเหตุจากการติดเชื้อที่ไตโดยตรง แต่เกิดขึ้นตามหลังการติดเชื้ออื่นๆของร่างกายที่พบบ่อยคือ pharyngitis จากเชื้อ Streptococcus group A. (post-streptococcalglomerulonephritis)
4.2. พยาธิสภาพ
4.2.1. เมื่อมีการติดเชื้อในร่างกายจะมีแอนติเจนกระตุ้นให้ร่างกายสร้างแอนติบอดีขึ้น ปริมาณของเซลที่มีการอักเสบที่เพิ่มขึ้น และความสามารถในการผ่านของสารในเซลล์ (basement membrane permeability)ที่ลดลงทำให้พื้นที่การกรอง (glomerular filtration surface) และอัตราการกรอง (glomerular filtration rate: GFR) ลดลง ปริมาณเลือดที่ไปเลี้ยงที่ไตจะลดลงในอัตราส่วนเดียวกับอัตราการกรอง
4.3. อาการและอาการแสดง
4.3.1. บวม
4.3.2. hematuria
4.3.3. ความดันโลหิตสูง
4.3.4. ปัสสาวะสีผิดปกติ
4.3.5. อาการปวดศีรษะ
4.3.6. ตามัว
4.3.7. ชัก หมดสติ
4.4. อาการทางคลินิก
4.4.1. ภายหลังการติดเชื้อประมาณ 7-14 วัน ผู้ป่วยเด็กจะมีอาการบวมที่หน้า โดยเฉพาะขอบตา ต่อมาบวมที่ขาและท้องชนิดกดไม่บุ๋ม และบวมไม่มาก โดยมีปริมาณน้ ามากในหลอดเลือด ปัสสาวะน้อยมีสีเข้ม เด็กจะมีอาการซีด กระสับกระส่าย และอ่อนเพลียมาก เด็กโตอาจบอกได้ว่ามีอาการปวดศีรษะ แน่นอึดอัดท้องและ ถ่ายปัสสาวะไม่ค่อยออก (dysuria)
4.5. การวินิจฉัยโรค
4.5.1. การตรวจปัสสาวะ
4.5.2. การตรวจเลือด
4.5.3. การเพาะเชื้อจาก pharynx
4.5.4. renal biopsy
4.5.5. การถ่ายภาพรังสีเพื่อดูภาวะแทรกซ้อน
4.6. ภาวะแทรกซ้อน
4.6.1. Hypertensive encephalopathy
4.6.2. Acute cardiac decompensation
4.6.3. Acute renal failure
4.7. การรักษา
4.7.1. การพักผ่อน
4.7.2. การจำกัดน้ำดื่ม
4.7.3. การจำกัดเกลือ ลดปริมาณเกลือโซเดียมและโปตัสเซียม
4.7.4. รักษาด้วยยา
4.7.4.1. ยาขับปัสสาวะ
4.7.4.2. ยาขยายหลอดเลือด
4.7.4.3. ยาต้านฤทธิ์ adrenalin
4.7.4.4. ยาปฏิชีวนะ