การวิเคราะห์ข้อมูล

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การวิเคราะห์ข้อมูล by Mind Map: การวิเคราะห์ข้อมูล

1. คือข้อมูลที่สรุปรวบรวมในรูปที่สามารถสื่อสารได้อย่างถูกต้องเชื่อถือได้

2. การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ

2.1. ลักษณะข้อมูลเชิงปริมาณ

2.1.1. ข้อมูลนามบัญญัติ

2.1.2. ข้อมูลแบบจัดอันดับ

2.1.3. ข้อมูลแบบช่วง

2.1.4. ข้อมูลแบบอัตราส่วน

2.2. จุดประสงค์ของการวิเคราะห์ข้อมูล

2.2.1. เพื่อบรรยายข้อมูลหรือตัวแปรที่ศึกษา

2.2.2. เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างกลุ่มที่ศึกษา

2.2.3. เพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่ศึกษา

3. หลักและแนวปฎิบัติในการวิเคราะห์ข้อมูล

3.1. มีความเข้าใจในวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ

3.2. วางแผนการวิเคราะห์ข้อมูล

3.3. ยึดวัตถุประสงค์ของวิจัยเป็นกรอบในการวิเคราะห์ข้อมูล

3.4. วิเคราะห์ทบทวนวัตถุประสงค์ของการวิจัยแต่ละข้อ

3.5. ลงมือวิเคราะห์ข้อมูลด้วยความรอบคอบตามแผนที่กำหนดไว้

3.6. นำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์

4. การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ

4.1. ลักษณะของข้อมูลเชิงคุณภาพ

4.1.1. การศึกษาตามสภาพที่เป็นธรรมชาติและตามความเป็นจริง

4.1.2. การศึกษาด้านพฤติกรรม เจตคติ คุณค่า ความคิดเห็น

4.2. วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ

4.2.1. พิจราณาข้อความ/ข้อมูลที่เก็บมาได้

4.2.2. การจัดกลุ่มประเภทของประเด็นที่สำคัญ

4.2.3. การหารูปแบบความสัมพันธ์ของคำสำคัญ

4.2.4. การนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล

4.3. แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ

4.3.1. การวิเคราะห์ข้อมูลระหว่างการเก็บรวบรวมข้อมูล

4.3.1.1. สร้างสมติฐานชั่วคราวระหว่างการรวบรวม

4.3.2. การวิเคราะห์ข้อมูลภายหลังการรวบรวมข้อมูล

4.3.2.1. การจัดช้อมูลให้เป็นระบบ

4.3.2.2. การกำหนดรหัส

4.3.2.3. การจัดเรียงข้อมูลใหม่ตามรหัสเดียวกัน

4.3.2.4. การสร้างข้อสรุปชั่วคราว

4.3.2.5. การตรวจสอบข้อสรุปชั่วคราว

4.3.2.6. การสร้างข้อสรุป

4.3.2.7. การนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล