Introduction and basic concept

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
Introduction and basic concept by Mind Map: Introduction and basic concept

1. State and equilibrium สภาวะและสภาวะที่เข้าสู่สมดุลแล้ว

1.1. Mechanical equilibrium

1.1.1. สมดุลกล เราจะพิจารณาไปที่ความดัน

1.2. Thermal equilibrium

1.2.1. สมดุลความร้อน

1.3. The state postulate สภาวะของสมดุล

1.3.1. ค่าๆหนึ่งคงที่ แต่อีกค่าหนึ่งเปลี่ยนไปเรื่ยๆ

2. Processes and cycles กระบวนการ

2.1. Process กระบวนการ

2.1.1. ใน 1 กระบวนการ จะต้องประกอบไปด้วยสภาวะอย่างน้อย 2 สภาวะ กระบวนการที่เกิดขึ้น เช่น กระบวนการคายความร้อน

2.2. Path เส้นทาง

2.2.1. ระหว่งทางที่state 1 เดินทางไป state 2

2.3. Quasi equilibrium สมดุลเป็นช่วง

2.4. Initial state สภาวะเริ่มต้น

2.5. Final state สภาวะสุดท้าย

2.6. คุณสมบัติเริ่มต้นทางเทอร์โมไดนามิกส์

2.6.1. Temperature อุณหภูมิ

2.6.2. Pressure ความดัน

2.6.3. Volume ปริมาตร

2.7. Iso การที่อะไรคงที่สักอย่าง

2.7.1. Isobaric (ความดัน) กระบวนการที่ความดันคงที่

2.7.2. Isochoric หรือ Isometric กระบวนการที่ปริมาตรคงที่

2.8. Cycle

2.8.1. กระบวนการที่สามารถกลับมาสู่สภาวะเริ่มต้นได้ ถ้ากลับมาสู่สภาวะเริ่มต้นได้ เรียกว่า 1 cycle

3. Temperature and the zeroth law of thermodynamics อุณหภูมิและกฎข้อที่ศูนย์ของเทอร์โมไดนามิกส์

3.1. freezing cold, cold, warm, hot, and red-hot ใช้บอกระดับอุณหภูมิ

3.2. กฎข้อที่ศูนย์

3.2.1. สภาวะซึ่งถ้าวัตถุสองชิ้นเข้าสู่สมดุลความร้อนต่อกันกับวัตถุก้อนที่สาม มันก็สามารถไปเข้าสู่สมดุลความร้อนได้กับวัตถุอื่นได้อีก

3.2.2. นำไปประดิษฐ์อุปกรณ์วัดอุณหภูมิ เรียกว่า เทอร์โมมิเตอร์

4. Temperature scales

4.1. ที่ความดัน 1 บรรยากาศ ขึ้นกับจุดเยือกแข็งกับจุดเดือดของน้ำ

5. Pressure ความดัน

5.1. คือ แรงที่กระทำจากของไหลต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่

5.2. หน่วย นิวตันต่อตารางเมตร หรือ ปาสคาล

5.2.1. การคิดค้นเรื่องราวของความดัน เป็นไปตามกฎปาสคาล จึงให้เกียรติตั้งหน่วยเป็นปาสคาล

5.3. 1 บรรยากาศ เท่ากับ 101.325 ปาสคาล

5.4. Absolute pressure ความดันสัมบูรณ์

5.4.1. คือ ความดันจริงๆ ณ ตำแหน่งนั้น โดยในการวัดจะสัมพันธ์กับสุญญากาศสัมบูรณ์

5.5. Gage pressure ความดันเกด

5.5.1. ความดันเกดเท่ากับ ความดันสัมบูรณ์ลบความดันบรรยากาศ

5.6. อุปกรณ์ที่ใช้วัด

5.6.1. Manometer

5.6.2. Barometer

6. Thermodynamics and energy เทอร์โมไดนามิกส์และพลังงาน

6.1. therme+dynamic การเปลี่ยนแปลงของความร้อน

6.2. ถูกนิยามให้เป็นเรื่องราวของ พลังงานทางวิทยาศาสตร์

6.3. กฎการอนุรักษ์พลังงาน

6.3.1. พลังงานไม่สามารถสูญหายแต่เกิดจากการเปลี่ยนรูปจากรูปหนึ่งไปยังอีกรูปหนึ่ง ผลรวมสุทธิคงที่

6.4. กฎทางเทอร์โมไดนามิกส์

6.4.1. กฎข้อที่หนึ่ง

6.4.1.1. กฏการอนุรักษ์พลังงาน

6.4.2. กฎข้อที่สอง

6.4.2.1. คุณภาพ ปริมาณ ยิ่งมีปริมาณมากพลังงานก็ยิ่งมีคุณภาพ

6.4.3. กฎข้อที่ศูนย์

6.4.3.1. สมดุลความร้อน เกิดการถ่ายโอนความร้อนระหว่างสสารกับสิ่งแวดล้อม

6.4.4. กฎข้อที่สาม

6.4.4.1. The entropy (ความยุ่งเหยิง) ยิ่งมีปริมาณความร้อนมาก ความยุ่งเหยิงก็จะยิ่งมาก

6.5. ประวัติเทอร์โมไดนามิก

6.5.1. ปรากฏขึ้นครั้งแรก คือ atmospheric steam engines(เครื่องยนต์ความดันไอน้ำ) โดย Thomas Savery ในปี 1697 และ Thomas Newcomen ในปี 1712

6.5.2. กฎข้อ1และ2 ถูกนิยามขึ้นประมาณ 1850s

6.5.3. William Rankine เขียนหนังสือในเทอร์โมไดนามิกส์ขึ้นในปี 1859

7. Importance of dimensions and units ความสัมพันธืของมิติกับหน่วย

7.1. 1 มิติ

7.1.1. ความเร็ว

7.2. 2 มิติ

7.2.1. พื้นที่

7.3. 3 มิติ

7.3.1. ปริมาตร

7.4. มิติพื้นฐาน

7.4.1. มวล ความยาว เวลา และอุณหภูมิ

8. Systems and control volumes ระบบและสิ่งแวดล้อม

8.1. ระบบ ถูกนิยามว่า ปริมาณของสสารหรือขอบเขตในพื้นที่ที่เลือกศึกษา

8.1.1. 1. ระบบปิด คือ ระบบที่ไม่มีการเข้าออกของมวลสาร แต่พลังงานสามารถผ่านเข้าออกได้

8.1.2. 2. ระบบโดดเดี่ยว ถ้าในกรณีพิเศษไม่มีมวลที่สามารถผ่านขอบเขตได้และไม่มีพลังงานที่ผ่านเข้าออกขอบเขตได้ ซี่งระบบโดดเดี่ยวไม่มีจริงบนโลก

8.1.3. 3. ระบบเปิดหรือระบบควบคุม คือ ทั้งมวลและพลังงานสามารถเคลื่อนที่ผ่านขอบเขตได้

8.2. สิ่งแวดล้อม สิ่งต่างๆที่อยู่นอกขอบเขตที่ต้องการศึกษา

8.3. Boundary เส้นแบ่งขอบเขต

9. Properties of a system คุณสมบัติของระบบ

9.1. Intensive properties

9.1.1. ไม่ขึ้นกับมวล เช่น อุณหภูมิ ความดัน ความหนาแน่น

9.2. Extensive properties

9.2.1. ขึ้นกับมวล เช่น ปริมาตร พลังงาน โมเมนตัม